HIGHLIGHT

เจาะประเด็น

Opinion

วิกฤตฝุ่น PM2.5 เมื่อรวมศูนย์แบบเดิมไม่เท่าทัน จะได้ไหม ‘กระจายอำนาจ’

เรื่อง: วิชชากร นวลฝั้น กระแสวิพากษ์วิจารณ์ที่กำลังร้อนแรงล่าสุดในขณะนี้คงหนี้ไม่พ้น กรณีที่นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นำแถลงข่าวการปฏิบัติการทางการแพทย์และบริการสาธารณสุข เพื่อรักษาผู้ป่วยทางเดินหายใจและกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งมาตรการดูแลประชาชนและนักท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ห้องประชุมบุญสม มาร์ติน อาคารบุญสม มาร์ติน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2566 ที่ผ่านมา...

De Lampang: ลำปางลมหายใจเปื้อนฝุ่น ท่ามกลางควันไฟที่เผาไหม้ป่า

เรื่อง: พินิจ ทองคำ เมษายนช่วงเวลาของการเข้าสู่ฤดูร้อนอย่างเป็นทางการ ลำปางถือเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีสถิติอุณหภูมิร้อนแรงติดอับดับต้น ๆ ของรัฐไทย จากการติดตามข่าวผ่านสื่อในรอบสัปดาห์ คำว่า “ลำปางร้อนมาก” เป็นที่พูดถึงถกเถียงกันเป็นอย่างมาก เนื่องจากสโลแกนอันหนึ่งของจังหวัดลำปางที่ประชาชนทั่วไปจดจำขนานนามว่า “ลำปางหนาวมาก” ถือเป็นสิ่งที่เป็นคู่ตรงข้ามกันอย่างชัดเจน เมื่ออากาศที่ร้อนแรงเพียงอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ อีกหนึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นตามมาควบคู่กับความร้อน คือ ฝุ่น PM 2.5...

น้ำแม่ข่า คลองสวย น้ำใส ไหลดี ชุมชนมีสุข สุขของใคร? หรือสุขที่ฝันไว้ไม่เคยตรงปก? 

เรื่อง: กองบรรณาธิการ “คลองแม่ข่า” หรือ “น้ำแม่ข่า” คลองที่มีความสำคัญและมีประวัติศาสตร์ของเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน ไล่ไปตั้งแต่เป็นหนึ่งในชัยภูมิ 7 ประการในการสร้างเมืองเชียงใหม่ ไปจนถึงการก้าวกระโดดเติบโตของเมืองเชียงใหม่ในช่วง 50 ปีให้หลังที่สร้างให้เมืองเชียงใหม่กลายเป็นเมืองท่องเที่ยวชื่อดัง แต่ภายใต้การพัฒนาเมืองที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วแต่กลับไม่ได้พัฒนาระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานรองรับกับการขยายตัวของเมืองส่งผลให้คลองแม่ข่าที่เป็นดังระบบระบายน้ำของเมืองเชียงใหม่ ทำให้เกิดน้ำเน่าเสียซึ่งส่งผลกระทบมาถึงปัจจุบัน ในวันนี้การพัฒนาคลองแม่ข่าระลอกใหม่ได้เดินหน้าตามแผนแม่บท (พ.ศ. 2561 - 2565) ของจังหวัดเชียงใหม่ ที่เป็นดังร่มใหญ่ที่ก่อให้เกิดการสร้างสถานที่ท่องเที่ยวชื่อดังของจังหวัดเชียงใหม่ที่หลายคนรู้จักในชื่อ...

INTERVIEW

วิกฤติการณ์ฝุ่น PM2.5 ระยะยาวของชีวิต สภาะวะการตายผ่อนส่ง ของคนภาคเหนือ

เรื่อง: จิณห์วรา ช่วยโชติ วิกฤตการณ์ทางสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในภาคเหนือนั้น ไม่ว่าจะปีไหน ๆ ทุกคนจะต้องได้รับรู้ มีเสียงหรือคำวิจารณ์จากคนในพื้นที่ที่ต้องประสบกับปัญหาฝุ่นพิษดังกล่าวโดยตรง พื้นที่ของข่าวมีการนำเสนอปัญหาและนโยบายจากรัฐบาล หรือภาพเจ้าหน้าที่รวมไปถึงอาสาสมัครที่ดมควัน เสี่ยงชีวิตไปกับภารกิจดับไฟ จากที่กล่าวเบื้องต้นเราจะเห็นว่า วิกฤตการณ์ทางสภาพอากาศ หรือปัญหาฝุ่นพิษ PM2.5 นั้น ไม่ใช่เรื่องใหม่ ไม่ใช่การรับรู้ที่ผู้คนไม่สามารถจินตนาการได้ว่าฝุ่น PM2.5 คืออะไร ซึ่งอาจจะแตกต่างจากเมื่อหลายปีที่ผ่านมา ก่อนหน้าที่ทั้งคนในภาคเหนือและคนในกรุงเทพมหานครจะเริ่มพบว่า...

เชียงใหม่เมืองดนตรี กับเหตุผลที่ว่าทำไมยังไม่มี Live House

เรื่อง: ธันยชนก อินทะรังษี ท่ามกลางแสงไฟสลัวและเสียงเพลงอันแผ่วเบา สะท้อนมาจากร้านอาหารหรือสถานบันเทิงอันเป็นที่นิยมของนักท่องราตรี “เชียงใหม่เมืองดนตรี” ในวันที่ทุกคนถามถึงพื้นที่เล่นดนตรีที่มีคุณค่า บ่อยครั้งเรากลับพบว่าการแสดงดนตรีสดในเมืองที่โรแมนติกตามคำใครนิยามไว้ กลายมาเป็นของแถม ซึ่งต่างจากในต่างประเทศ ที่จะมีสถานที่ที่ผู้คนไปรวมตัวกันเพื่อฟังดนตรีสด ไปค้นพบศิลปินใหม่ ๆ ที่พวกเขาไม่รู้จักมาก่อนได้ในชีวิตประจำวัน สถานที่นั้นเรียกว่า ‘Live House’ ตามมาด้วยคำถามที่ว่า ‘แล้วทำไมเชียงใหม่ยังไม่มี Live House’ LIVE HOUSE...

My Hometown Project เล่นในบ้านทัวร์ในบ้าน แบบ View From The Bus Tour ที่กำลังจะบอกว่ากระจายอำนาจเป็นเรื่องสำคัญ

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “สิ่งที่ผมหวังว่าจะเกิดขึ้นจากการจุดชนวนโปรเจคนี้คือ (1) นำเสนอโมเดลการเดินสายโชว์ดนตรีออริจินัลในเชียงใหม่ สู่ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ให้กับนิเวศดนตรี ไม่ว่าจะในมุมของ music venues (มาตรฐาน), เจ้าของธุรกิจ, นายทุน, ศิลปิน, และผู้ฟัง (2) ผลักดันประเด็นเรื่อง soft...

Video & Podcast

spot_img

ศิลปะ-ศิลปิน

วิกฤตฝุ่น PM2.5 เมื่อรวมศูนย์แบบเดิมไม่เท่าทัน จะได้ไหม ‘กระจายอำนาจ’

เรื่อง: วิชชากร นวลฝั้น กระแสวิพากษ์วิจารณ์ที่กำลังร้อนแรงล่าสุดในขณะนี้คงหนี้ไม่พ้น กรณีที่นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นำแถลงข่าวการปฏิบัติการทางการแพทย์และบริการสาธารณสุข เพื่อรักษาผู้ป่วยทางเดินหายใจและกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งมาตรการดูแลประชาชนและนักท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ห้องประชุมบุญสม มาร์ติน อาคารบุญสม มาร์ติน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2566 ที่ผ่านมา โดยในช่วงที่มีการเปิดโอกาสให้ซักถามนั้นมีผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์มติชน ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ได้เป็นตัวแทนของสื่อมวลชนเชียงใหม่ ตั้งคำถามและข้อสังเกตเกี่ยวกับการพยายามปกปิดข้อมูลสถานการณ์และปัญหาเรื่องมลพิษหมอกควันและไฟป่าของหน่วยงานราชการจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งก่อนหน้านี้มีการกล่าวอ้างว่าสื่อนำเสนอข่าวไม่ถูกต้องตามความเป็นจริงหรือเป็นการนำเสนอข่าวที่เป็นเฟกนิวส์ ทำให้ตัวแทนสื่อมวลชนเชียงใหม่ยืนยันว่าการนำเสนอข่าวเป็นไปตามความเป็นจริงและเพื่อประโยชน์สาธารณะให้ผู้คนได้รับรู้สถานการณ์ตามความเป็นจริงและเกิดความตระหนักตื่นตัวแล้วสามารถดูแลปกป้องตัวเองได้อย่างถูกต้อง จากข่าวดังกล่าวที่ออกมาทำให้เราต้องกลับมาทบทวนกันอีกครั้ง ถึงการดำเนินงานและการออกมาตรการรับมือสถานการณ์ฝุ่นควัน PM2.5 ในภาคเหนือว่าภาครัฐมีความเข้าใจบริบทในพื้นที่หรือไม่ การสั่งการและการจัดสรรงบประมาณมีความคืบหน้าอย่างไร หรือถึงเวลาที่ต้องมีการกระจายอำนาจท้องถิ่นเพื่อตอบสนองมาตรการที่ประชาชนต้องการ ย้อนมาตราการรัฐยับยั้งเฉพาะหน้าหรือแก้ระยะยาว? ย้อนกลับไปในปี 2566 ทางฝ่ายราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้หารือและจัดเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในปี 2567 โดยการประชุมครั้งใหญ่เกิดขึ้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2566 นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ได้เปิดประชุมหารือร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด 17 จังหวัดภาคเหนือ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า หมอกควัน และฝุ่นละอองขนาดเล็ก Pm 2.5 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติฯ จ.เชียงใหม่ ในที่สุดจึงได้ข้อสรุปสำหรับมาตรการเร่งด่วนแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 ปี 2567 ประกอบด้วย          1.ระบบการบริหารจัดการการเผา โดยกระทรวงมหาดไทย         ...

กาดหมั้ว

วิกฤตฝุ่น PM2.5 เมื่อรวมศูนย์แบบเดิมไม่เท่าทัน จะได้ไหม ‘กระจายอำนาจ’

เรื่อง: วิชชากร นวลฝั้น กระแสวิพากษ์วิจารณ์ที่กำลังร้อนแรงล่าสุดในขณะนี้คงหนี้ไม่พ้น กรณีที่นายนิรัตน์ พงษ์สิทธิถาวร ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ นำแถลงข่าวการปฏิบัติการทางการแพทย์และบริการสาธารณสุข เพื่อรักษาผู้ป่วยทางเดินหายใจและกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งมาตรการดูแลประชาชนและนักท่องเที่ยวในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ห้องประชุมบุญสม มาร์ติน อาคารบุญสม มาร์ติน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2566 ที่ผ่านมา โดยในช่วงที่มีการเปิดโอกาสให้ซักถามนั้นมีผู้สื่อข่าวหนังสือพิมพ์มติชน ประจำจังหวัดเชียงใหม่ ได้เป็นตัวแทนของสื่อมวลชนเชียงใหม่ ตั้งคำถามและข้อสังเกตเกี่ยวกับการพยายามปกปิดข้อมูลสถานการณ์และปัญหาเรื่องมลพิษหมอกควันและไฟป่าของหน่วยงานราชการจังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งก่อนหน้านี้มีการกล่าวอ้างว่าสื่อนำเสนอข่าวไม่ถูกต้องตามความเป็นจริงหรือเป็นการนำเสนอข่าวที่เป็นเฟกนิวส์ ทำให้ตัวแทนสื่อมวลชนเชียงใหม่ยืนยันว่าการนำเสนอข่าวเป็นไปตามความเป็นจริงและเพื่อประโยชน์สาธารณะให้ผู้คนได้รับรู้สถานการณ์ตามความเป็นจริงและเกิดความตระหนักตื่นตัวแล้วสามารถดูแลปกป้องตัวเองได้อย่างถูกต้อง จากข่าวดังกล่าวที่ออกมาทำให้เราต้องกลับมาทบทวนกันอีกครั้ง ถึงการดำเนินงานและการออกมาตรการรับมือสถานการณ์ฝุ่นควัน PM2.5 ในภาคเหนือว่าภาครัฐมีความเข้าใจบริบทในพื้นที่หรือไม่ การสั่งการและการจัดสรรงบประมาณมีความคืบหน้าอย่างไร หรือถึงเวลาที่ต้องมีการกระจายอำนาจท้องถิ่นเพื่อตอบสนองมาตรการที่ประชาชนต้องการ ย้อนมาตราการรัฐยับยั้งเฉพาะหน้าหรือแก้ระยะยาว? ย้อนกลับไปในปี 2566 ทางฝ่ายราชการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้หารือและจัดเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5 ในปี 2567 โดยการประชุมครั้งใหญ่เกิดขึ้นเมื่อ 29 พฤศจิกายน 2566 นายเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ได้เปิดประชุมหารือร่วมกับผู้ว่าราชการจังหวัด 17 จังหวัดภาคเหนือ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า หมอกควัน และฝุ่นละอองขนาดเล็ก Pm 2.5 ณ ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติฯ จ.เชียงใหม่ ในที่สุดจึงได้ข้อสรุปสำหรับมาตรการเร่งด่วนแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 ปี 2567 ประกอบด้วย          1.ระบบการบริหารจัดการการเผา โดยกระทรวงมหาดไทย         ...

คนล้านนา

spot_img

LATEST STORY

TAG CLOUD