HIGHLIGHT

เจาะประเด็น

Opinion

ยก ‘ครูบาเจ้าศรีวิชัย’ เป็นบุคคลสำคัญล้านนา ดันวันเกิดหรือวันมรณภาพเป็น “วันศรีวิชัย”

วันที่ 29 เมษายน 2567 วัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ร่วมกับ มูลนิธิครูบาศรีวิชัย จัดกิจกรรมงานวันครูบาเจ้าศรีวิชัย เปิดถนนขึ้นสู่วัดพระธาตุดอยสุเทพ ครบ ๘๙ ปี และมหกรรมชุมนุมรถโบราณล้านนา ณ มณฑลพิธีมูลนิธิสถาบันครูบาเจ้าศรีวิชัย, อนุสาวรีย์ครูบาเจ้าศรีวิชัย และวัดพระธาตุดอยสุเทพราชวรวิหาร ระหว่างวันที่ 28-30...

อยู่-ระหว่าง-เหนือล่าง : เหนือล่างกับประวัติศาสตร์การเคลื่อนย้าย

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย ภูมิภาคเหนือตอนล่างคือพื้นที่ระหว่างภาคกลาง (กล่าวโดยนัยคือกรุงเทพฯ) กับภาคเหนือ ภายใต้ประพัฒนาการของรัฐไทยที่เริ่มต้นในช่วงรัชการที่ 5 มาจนถึงตอนนี้ ภูมิภาคเหนือตอนล่างถูกละเลยไปจากการศึกษาทางประวัติศาสตร์ไปจนหาความต่อเนื่องได้ยาก เหตุจากภูมิภาคนี้มีลักษณะความเป็นกึ่งกลางระหว่างความไทยกับความเป็นอื่น หากพิจารณาความเป็นกึ่งกลางของภูมิภาคเหนือล่างเราอาจเห็นร่องรอยของประวัติศาสตร์ รวมถึงร่องรอยความเป็นไปของชีวิตผู้คนบนพื้นที่นี้ ผมจึงอยากพาทุกคนไปสำรวจความน่าสนใจนี้อย่างคร่าวผ่านงานเขียนชิ้นนี้ โดยหวังให้เกิดข้อถกเถียงที่กว้างไกลกว่าบทความที่ผู้เขียนจะเขียนต่อไปนี้ จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร...

ล้านนาบ่แม่นก้าคนเมือง : สังคมพหุวัฒนธรรมในล้านนา

เมื่อวันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา สำนักข่าว Lanner ร่วมกับภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดเวทีประชุมสัมมนาทางวิชาการ               ...

INTERVIEW

Lanner Joy : การเดินทางของซุปเปอร์ฮีโร่ Healthtech สตาร์ทอัพสัญชาติเชียงใหม่ กับการรักษาโรคไมเกรนด้วยจิตวิญญาณนวัตกร

เรื่องและภาพ: ศุภกานต์ วรินทร์ปราโมทย์ เมื่อเดินลัดเลาะเข้าไปในย่านศิริมังคลาจารย์ นอกจากคาเฟ่ในตรอกซอกซอยที่หลบซ่อนจากความวุ่นวายในโซนนิมมานฯ หากสังเกตดี ๆ ย่านแห่งนี้เป็นฐานทัพของบริษัทสตาร์ทอัพและเทคโนโลยีอยู่ไม่น้อย  ไม่น่าเชื่อว่าในพื้นที่เพียงไม่กี่ตารางกิโลเมตรในหัวมุมด้านทิศตะวันตกของคูเมืองเชียงใหม่ จะเป็นแหล่งบ่มเพาะนวัตกรรมทางสุขภาพที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้ชีวิตผู้คนมากมาย และในพื้นที่เล็ก ๆ แห่งนี้เอง คือที่ ๆ เรามาพบกับ “พี่ตี้หลุง” ที่หลายคนเรียกว่า “อาจารย์สุรัตน์” หรือถ้าเรียกเต็มยศกว่านั้นก็คือ ผศ.นพ. สุรัตน์ ตันประเวช...

วิกฤติการณ์ฝุ่น PM2.5 ระยะยาวของชีวิต สภาะวะการตายผ่อนส่ง ของคนภาคเหนือ

เรื่อง: จิณห์วรา ช่วยโชติ วิกฤตการณ์ทางสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในภาคเหนือนั้น ไม่ว่าจะปีไหน ๆ ทุกคนจะต้องได้รับรู้ มีเสียงหรือคำวิจารณ์จากคนในพื้นที่ที่ต้องประสบกับปัญหาฝุ่นพิษดังกล่าวโดยตรง พื้นที่ของข่าวมีการนำเสนอปัญหาและนโยบายจากรัฐบาล หรือภาพเจ้าหน้าที่รวมไปถึงอาสาสมัครที่ดมควัน เสี่ยงชีวิตไปกับภารกิจดับไฟ จากที่กล่าวเบื้องต้นเราจะเห็นว่า วิกฤตการณ์ทางสภาพอากาศ หรือปัญหาฝุ่นพิษ PM2.5 นั้น ไม่ใช่เรื่องใหม่ ไม่ใช่การรับรู้ที่ผู้คนไม่สามารถจินตนาการได้ว่าฝุ่น PM2.5 คืออะไร ซึ่งอาจจะแตกต่างจากเมื่อหลายปีที่ผ่านมา ก่อนหน้าที่ทั้งคนในภาคเหนือและคนในกรุงเทพมหานครจะเริ่มพบว่า...

เชียงใหม่เมืองดนตรี กับเหตุผลที่ว่าทำไมยังไม่มี Live House

เรื่อง: ธันยชนก อินทะรังษี ท่ามกลางแสงไฟสลัวและเสียงเพลงอันแผ่วเบา สะท้อนมาจากร้านอาหารหรือสถานบันเทิงอันเป็นที่นิยมของนักท่องราตรี “เชียงใหม่เมืองดนตรี” ในวันที่ทุกคนถามถึงพื้นที่เล่นดนตรีที่มีคุณค่า บ่อยครั้งเรากลับพบว่าการแสดงดนตรีสดในเมืองที่โรแมนติกตามคำใครนิยามไว้ กลายมาเป็นของแถม ซึ่งต่างจากในต่างประเทศ ที่จะมีสถานที่ที่ผู้คนไปรวมตัวกันเพื่อฟังดนตรีสด ไปค้นพบศิลปินใหม่ ๆ ที่พวกเขาไม่รู้จักมาก่อนได้ในชีวิตประจำวัน สถานที่นั้นเรียกว่า ‘Live House’ ตามมาด้วยคำถามที่ว่า ‘แล้วทำไมเชียงใหม่ยังไม่มี Live House’ LIVE HOUSE...

Video & Podcast

spot_img

ศิลปะ-ศิลปิน

เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ ยื่นหนังสือถึง นายก-ผู้ว่าฯ แนะค่าจ้างขั้นต่ำ 700 บาท/วัน

1 พฤษภาคม 2567 เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ จัดขบวนแห่ผ้าป่าเสนอข้อเรียกร้องและยื่นหนังสือต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ในเนื่องโอกาสวันแรงงานสากล ปี 2567 ณ ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ภายในงานนี้ประกอบด้วยเครือข่ายจาก Migrant Worker Federation, กลุ่มคนงานหญิงเพื่อความเท่าเทียม และสหภาพบาริสต้า โดยเริ่มเดินขบวนผ้าป่าเวลา 13.30 น. และยื่นข้อเรียกร้องต่อตัวแทนผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เวลา 14.00 น. ซึ่งข้อเรียกร้องของเครือข่ายแรงงานภาคเหนือในปีน้มีทั้งหมด 29 ข้อ ข้อหลัก ๆ เป็นการเรียกร้องค่าจ้างขั้นต่ำไม่ต่ำกว่า 700 บาทต่อวัน และเรียกร้องสวัสดิการพื้นฐานที่ควรได้รับให้เท่ากันว่าจะเป็นอาชีพไหน เพศอะไร และเชื้อชาติใด โดยในหนังสือมีเนื้อหาดังนี้ เนื่องด้วยวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี เป็น “วันแรงงานสากล” ซึ่งเป็นวันที่คนทำงานทั่วโลกได้รำลึกถึงการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคมของคนทำงาน เป็นการยกย่องและชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของคนทำงานในทุกสาขาอาชีพ สิทธิอันชอบธรรมที่คนทำงานสมควรได้รับในฐานะมนุษย์ที่มีศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับประชาชนกลุ่มอื่น ๆ ในฐานะที่คนทำงานเป็นส่วนสำคัญหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ก้าวไปข้างหน้าและทัดเทียมกับนานาประเทศ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมให้เห็นถึงคุณค่าความสำคัญของคนทำงาน เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ ร่วมกับคนทำงานทุกสาขาอาชีพจึงขอเรียกร้องดังต่อไปนี้ 1.ขอให้รัฐบาลกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำไม่ต่ำกว่า 700 บาทต่อวัน เพื่อให้สอดคล้องกับค่าครองชีพและเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว รัฐบาลต้องใช้หลักค่าจ้างเพื่อชีวิต (Living Wage) ในการพิจารณาขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ หมายถึงค่าจ้างที่ทำให้แรงงานสามารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ใช้ค่าจ้างอัตราเดียวกันทั้งประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs) ด้านงานที่มีคุณค่า (Decent Work) และด้านการลดความเหลื่อมล้ำ นอกจากนี้รัฐบาลต้องแก้ไขกฎกระทรวงให้การสรรหาคณะกรรมการค่าจ้าง ซึ่งทำหน้าที่กำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ...

กาดหมั้ว

เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ ยื่นหนังสือถึง นายก-ผู้ว่าฯ แนะค่าจ้างขั้นต่ำ 700 บาท/วัน

1 พฤษภาคม 2567 เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ จัดขบวนแห่ผ้าป่าเสนอข้อเรียกร้องและยื่นหนังสือต่อผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ในเนื่องโอกาสวันแรงงานสากล ปี 2567 ณ ศูนย์ราชการจังหวัดเชียงใหม่ ภายในงานนี้ประกอบด้วยเครือข่ายจาก Migrant Worker Federation, กลุ่มคนงานหญิงเพื่อความเท่าเทียม และสหภาพบาริสต้า โดยเริ่มเดินขบวนผ้าป่าเวลา 13.30 น. และยื่นข้อเรียกร้องต่อตัวแทนผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ เวลา 14.00 น. ซึ่งข้อเรียกร้องของเครือข่ายแรงงานภาคเหนือในปีน้มีทั้งหมด 29 ข้อ ข้อหลัก ๆ เป็นการเรียกร้องค่าจ้างขั้นต่ำไม่ต่ำกว่า 700 บาทต่อวัน และเรียกร้องสวัสดิการพื้นฐานที่ควรได้รับให้เท่ากันว่าจะเป็นอาชีพไหน เพศอะไร และเชื้อชาติใด โดยในหนังสือมีเนื้อหาดังนี้ เนื่องด้วยวันที่ 1 พฤษภาคมของทุกปี เป็น “วันแรงงานสากล” ซึ่งเป็นวันที่คนทำงานทั่วโลกได้รำลึกถึงการต่อสู้เพื่อความเป็นธรรมในสังคมของคนทำงาน เป็นการยกย่องและชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของคนทำงานในทุกสาขาอาชีพ สิทธิอันชอบธรรมที่คนทำงานสมควรได้รับในฐานะมนุษย์ที่มีศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับประชาชนกลุ่มอื่น ๆ ในฐานะที่คนทำงานเป็นส่วนสำคัญหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ก้าวไปข้างหน้าและทัดเทียมกับนานาประเทศ เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาและส่งเสริมให้เห็นถึงคุณค่าความสำคัญของคนทำงาน เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ ร่วมกับคนทำงานทุกสาขาอาชีพจึงขอเรียกร้องดังต่อไปนี้ 1.ขอให้รัฐบาลกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำไม่ต่ำกว่า 700 บาทต่อวัน เพื่อให้สอดคล้องกับค่าครองชีพและเศรษฐกิจที่เติบโตขึ้นอย่างมาก โดยเฉพาะภาคการท่องเที่ยว รัฐบาลต้องใช้หลักค่าจ้างเพื่อชีวิต (Living Wage) ในการพิจารณาขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ หมายถึงค่าจ้างที่ทำให้แรงงานสามารถใช้ชีวิตอยู่ได้อย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ใช้ค่าจ้างอัตราเดียวกันทั้งประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs) ด้านงานที่มีคุณค่า (Decent Work) และด้านการลดความเหลื่อมล้ำ นอกจากนี้รัฐบาลต้องแก้ไขกฎกระทรวงให้การสรรหาคณะกรรมการค่าจ้าง ซึ่งทำหน้าที่กำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ...

คนล้านนา

spot_img

LATEST STORY

TAG CLOUD