HIGHLIGHT

เจาะประเด็น

Opinion

อยู่-ระหว่าง-เหนือล่าง : เหนือล่างกับประวัติศาสตร์การเคลื่อนย้าย

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย ภูมิภาคเหนือตอนล่างคือพื้นที่ระหว่างภาคกลาง (กล่าวโดยนัยคือกรุงเทพฯ) กับภาคเหนือ ภายใต้ประพัฒนาการของรัฐไทยที่เริ่มต้นในช่วงรัชการที่ 5 มาจนถึงตอนนี้ ภูมิภาคเหนือตอนล่างถูกละเลยไปจากการศึกษาทางประวัติศาสตร์ไปจนหาความต่อเนื่องได้ยาก เหตุจากภูมิภาคนี้มีลักษณะความเป็นกึ่งกลางระหว่างความไทยกับความเป็นอื่น หากพิจารณาความเป็นกึ่งกลางของภูมิภาคเหนือล่างเราอาจเห็นร่องรอยของประวัติศาสตร์ รวมถึงร่องรอยความเป็นไปของชีวิตผู้คนบนพื้นที่นี้ ผมจึงอยากพาทุกคนไปสำรวจความน่าสนใจนี้อย่างคร่าวผ่านงานเขียนชิ้นนี้ โดยหวังให้เกิดข้อถกเถียงที่กว้างไกลกว่าบทความที่ผู้เขียนจะเขียนต่อไปนี้ จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร...

ล้านนาบ่แม่นก้าคนเมือง : สังคมพหุวัฒนธรรมในล้านนา

เมื่อวันจันทร์ ที่ 4 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา สำนักข่าว Lanner ร่วมกับภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดเวทีประชุมสัมมนาทางวิชาการ               ...

จันเสนก่อนตาคลี เมืองโบราณที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก?

เรื่อง: ป.ละม้ายสัน บริเวณภาคเหนือตอนล่างหรือกลางตอนบนในปัจจุบันมีแหล่งโบราณคดีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกถึง 4) แห่ง ได้แก่ 1) อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย 2) อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย 3) อุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรและที่ล่าสุด 4) อุทยานประวัติศาสตร์เมืองศรีเทพ นอกเหนือไปกว่านั้นยังมีเมืองโบราณคดีในพื้นที่นี้อีกหลายแห่งที่ไม่ค่อยได้รับการพูดถึงอย่างกว้างขวางนัก อาทิเช่น อุทยานเมืองเก่าพิจิตร เมืองโบราณเวสาลี ที่ตั้งอยู่ที่ตำบลสำโรงชัย อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์...

INTERVIEW

วิกฤติการณ์ฝุ่น PM2.5 ระยะยาวของชีวิต สภาะวะการตายผ่อนส่ง ของคนภาคเหนือ

เรื่อง: จิณห์วรา ช่วยโชติ วิกฤตการณ์ทางสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในภาคเหนือนั้น ไม่ว่าจะปีไหน ๆ ทุกคนจะต้องได้รับรู้ มีเสียงหรือคำวิจารณ์จากคนในพื้นที่ที่ต้องประสบกับปัญหาฝุ่นพิษดังกล่าวโดยตรง พื้นที่ของข่าวมีการนำเสนอปัญหาและนโยบายจากรัฐบาล หรือภาพเจ้าหน้าที่รวมไปถึงอาสาสมัครที่ดมควัน เสี่ยงชีวิตไปกับภารกิจดับไฟ จากที่กล่าวเบื้องต้นเราจะเห็นว่า วิกฤตการณ์ทางสภาพอากาศ หรือปัญหาฝุ่นพิษ PM2.5 นั้น ไม่ใช่เรื่องใหม่ ไม่ใช่การรับรู้ที่ผู้คนไม่สามารถจินตนาการได้ว่าฝุ่น PM2.5 คืออะไร ซึ่งอาจจะแตกต่างจากเมื่อหลายปีที่ผ่านมา ก่อนหน้าที่ทั้งคนในภาคเหนือและคนในกรุงเทพมหานครจะเริ่มพบว่า...

เชียงใหม่เมืองดนตรี กับเหตุผลที่ว่าทำไมยังไม่มี Live House

เรื่อง: ธันยชนก อินทะรังษี ท่ามกลางแสงไฟสลัวและเสียงเพลงอันแผ่วเบา สะท้อนมาจากร้านอาหารหรือสถานบันเทิงอันเป็นที่นิยมของนักท่องราตรี “เชียงใหม่เมืองดนตรี” ในวันที่ทุกคนถามถึงพื้นที่เล่นดนตรีที่มีคุณค่า บ่อยครั้งเรากลับพบว่าการแสดงดนตรีสดในเมืองที่โรแมนติกตามคำใครนิยามไว้ กลายมาเป็นของแถม ซึ่งต่างจากในต่างประเทศ ที่จะมีสถานที่ที่ผู้คนไปรวมตัวกันเพื่อฟังดนตรีสด ไปค้นพบศิลปินใหม่ ๆ ที่พวกเขาไม่รู้จักมาก่อนได้ในชีวิตประจำวัน สถานที่นั้นเรียกว่า ‘Live House’ ตามมาด้วยคำถามที่ว่า ‘แล้วทำไมเชียงใหม่ยังไม่มี Live House’ LIVE HOUSE...

My Hometown Project เล่นในบ้านทัวร์ในบ้าน แบบ View From The Bus Tour ที่กำลังจะบอกว่ากระจายอำนาจเป็นเรื่องสำคัญ

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “สิ่งที่ผมหวังว่าจะเกิดขึ้นจากการจุดชนวนโปรเจคนี้คือ (1) นำเสนอโมเดลการเดินสายโชว์ดนตรีออริจินัลในเชียงใหม่ สู่ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ให้กับนิเวศดนตรี ไม่ว่าจะในมุมของ music venues (มาตรฐาน), เจ้าของธุรกิจ, นายทุน, ศิลปิน, และผู้ฟัง (2) ผลักดันประเด็นเรื่อง soft...

Video & Podcast

spot_img

ศิลปะ-ศิลปิน

อยู่-ระหว่าง-เหนือล่าง : เหนือล่างกับประวัติศาสตร์การเคลื่อนย้าย

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย ภูมิภาคเหนือตอนล่างคือพื้นที่ระหว่างภาคกลาง (กล่าวโดยนัยคือกรุงเทพฯ) กับภาคเหนือ ภายใต้ประพัฒนาการของรัฐไทยที่เริ่มต้นในช่วงรัชการที่ 5 มาจนถึงตอนนี้ ภูมิภาคเหนือตอนล่างถูกละเลยไปจากการศึกษาทางประวัติศาสตร์ไปจนหาความต่อเนื่องได้ยาก เหตุจากภูมิภาคนี้มีลักษณะความเป็นกึ่งกลางระหว่างความไทยกับความเป็นอื่น หากพิจารณาความเป็นกึ่งกลางของภูมิภาคเหนือล่างเราอาจเห็นร่องรอยของประวัติศาสตร์ รวมถึงร่องรอยความเป็นไปของชีวิตผู้คนบนพื้นที่นี้ ผมจึงอยากพาทุกคนไปสำรวจความน่าสนใจนี้อย่างคร่าวผ่านงานเขียนชิ้นนี้ โดยหวังให้เกิดข้อถกเถียงที่กว้างไกลกว่าบทความที่ผู้เขียนจะเขียนต่อไปนี้ จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ และอุทัยธานี คือจังหวัดที่ถูกจัดให้อยู่ในภูมิภาคเหนือล่าง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 บทความนี้จึงขอนับจังหวัดที่ได้กล่าวมานี้ในฐานะภาคเหนือตอนล่าง อาจเป็นการเหมารวมตามแบบรัฐราชการไทยไปเสียหน่อย อย่างไรก็ตาม หากพินิจแล้วจังหวัดเหล่านี้ก็เชื่อมโยงกันในทางภูมิศาสตร์จริง และยังมีประวัติศาสตร์ของชีวิตทางสังคมที่เชื่อมร้อยกันไว้ในด้วยเช่นกัน ร่องรอยของอยุธยา ต้องขอกล่าวไปตั้งแต่เสียตอนนี้ว่า การเขียนถึงร่องรอยของอยุธยาบนพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างนี้ผมมิได้ประสงค์เชื่อมโยงภาคเหนือตอนล่างให้กลายเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์แบบไทย ๆ ที่ยึดโยงเอาอยุธยาเป็นประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของชาติไทย ผมเพียงอยากให้เราพิจารณาภาคเหนือตอนล่างในฐานะประวัติศาสตร์ที่ครั้งหนึ่งมีความเชื่อมโยงกับราชอาณาจักรอยุธยาเพียงเท่านั้น พิษณุโลกครั้งหนึ่งเคยถูกกล่าวขานในฐานะหัวเมืองเหนือของราชอาณาจักรอยุธยา นิโกลาส์ แชรแวส บาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่เข้ามายังราชอาณาจักรอยุธยาในสมัยพระนารายณ์ได้เขียนบันทึกถึงเมืองพิษณุโลกในฐานะหัวเมืองฝ่ายเหนือที่สำคัญราชอาณาจักรอยุธยาว่า เป็นเมืองอันดับสองของอยุธยา และลา ลูแบร์ที่เข้าอยุธยาในช่วงเวลาเดียวกันก็ได้กล่าวถึงเมืองพิษณุโลกว่า เป็นเมืองที่มีการค้าขายมาก ช่วยยืนยันความสำคัญของพิษณุโลกในฐานะหัวเมืองและเมืองแห่งการค้า มีการสร้างพระราชวังให้แก่พระราชโอรสที่เมืองพิษณุโลกตามแบบอย่างของเมืองคู่ในสมัยการปกครองของพระเจ้าปราสาททอง กำแพงเพชรตามบันทึกของแชรแวสระบุว่า กำแพงเพชรเป็นเมืองเก่าและเป็นที่รู้จักเป็นวงกว้าง ทั้งขนาดของอาณาเขตและจำนวนผู้คนก็มีอยู่มากพอกับอยุธยา นอกจากนี้ในมิติทางเศรษฐกิจกำแพงเพชรก็เป็นแหล่งผลิตน้ำตาลไปขายที่ญี่ปุ่นและมะละกา (เมืองในมาเลเซีย) นครสวรรค์เป็นเมืองสำคัญเช่นเดียวกันในฐานะชุมทางและแหล่งการค้าสำคัญในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา จากรายงานของเดอ ชัวซีย์ ราชทูตจากฝรั่งเศสได้บันทึกความสำคัญของนครสวรรค์ รวมถึงตากและสุโขทัยว่าเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าสำคัญของราชอาณาจักรอยุธยา คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร ได้รวบรวมรายชื่อเมืองที่ปรากฏในเอกสารและแผนที่ของชาวต่างชาติที่บันทึกถึงอยุธยา ปรากฏชื่อเมืองที่ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ไม่ว่าจะเป็นเมืองพิชัยในจังหวัดอุตรดิตถ์ เมืองพิจิตร  เมืองสวรรคโลก นอกจากนั้นยังระบุถึงเมืองขนาดเล็กและชุมชนขนาดใหญ่อื่นอีกที่อยู่รายรอบแม่น้ำเจ้าพระยา เราจะเห็นได้ว่าหลายพื้นที่ในภาคเหนือตอนล่างมีประวัติศาสตร์ที่ย้อนกลับไปได้ถึงช่วงที่ราชอาณาจักรอยุธยาเรืองอำนาจ หรือคือกว่า...

กาดหมั้ว

อยู่-ระหว่าง-เหนือล่าง : เหนือล่างกับประวัติศาสตร์การเคลื่อนย้าย

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย ภูมิภาคเหนือตอนล่างคือพื้นที่ระหว่างภาคกลาง (กล่าวโดยนัยคือกรุงเทพฯ) กับภาคเหนือ ภายใต้ประพัฒนาการของรัฐไทยที่เริ่มต้นในช่วงรัชการที่ 5 มาจนถึงตอนนี้ ภูมิภาคเหนือตอนล่างถูกละเลยไปจากการศึกษาทางประวัติศาสตร์ไปจนหาความต่อเนื่องได้ยาก เหตุจากภูมิภาคนี้มีลักษณะความเป็นกึ่งกลางระหว่างความไทยกับความเป็นอื่น หากพิจารณาความเป็นกึ่งกลางของภูมิภาคเหนือล่างเราอาจเห็นร่องรอยของประวัติศาสตร์ รวมถึงร่องรอยความเป็นไปของชีวิตผู้คนบนพื้นที่นี้ ผมจึงอยากพาทุกคนไปสำรวจความน่าสนใจนี้อย่างคร่าวผ่านงานเขียนชิ้นนี้ โดยหวังให้เกิดข้อถกเถียงที่กว้างไกลกว่าบทความที่ผู้เขียนจะเขียนต่อไปนี้ จังหวัดตาก พิษณุโลก สุโขทัย เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ กำแพงเพชร พิจิตร นครสวรรค์ และอุทัยธานี คือจังหวัดที่ถูกจัดให้อยู่ในภูมิภาคเหนือล่าง ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2546 บทความนี้จึงขอนับจังหวัดที่ได้กล่าวมานี้ในฐานะภาคเหนือตอนล่าง อาจเป็นการเหมารวมตามแบบรัฐราชการไทยไปเสียหน่อย อย่างไรก็ตาม หากพินิจแล้วจังหวัดเหล่านี้ก็เชื่อมโยงกันในทางภูมิศาสตร์จริง และยังมีประวัติศาสตร์ของชีวิตทางสังคมที่เชื่อมร้อยกันไว้ในด้วยเช่นกัน ร่องรอยของอยุธยา ต้องขอกล่าวไปตั้งแต่เสียตอนนี้ว่า การเขียนถึงร่องรอยของอยุธยาบนพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างนี้ผมมิได้ประสงค์เชื่อมโยงภาคเหนือตอนล่างให้กลายเป็นส่วนหนึ่งของประวัติศาสตร์แบบไทย ๆ ที่ยึดโยงเอาอยุธยาเป็นประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ของชาติไทย ผมเพียงอยากให้เราพิจารณาภาคเหนือตอนล่างในฐานะประวัติศาสตร์ที่ครั้งหนึ่งมีความเชื่อมโยงกับราชอาณาจักรอยุธยาเพียงเท่านั้น พิษณุโลกครั้งหนึ่งเคยถูกกล่าวขานในฐานะหัวเมืองเหนือของราชอาณาจักรอยุธยา นิโกลาส์ แชรแวส บาทหลวงชาวฝรั่งเศสที่เข้ามายังราชอาณาจักรอยุธยาในสมัยพระนารายณ์ได้เขียนบันทึกถึงเมืองพิษณุโลกในฐานะหัวเมืองฝ่ายเหนือที่สำคัญราชอาณาจักรอยุธยาว่า เป็นเมืองอันดับสองของอยุธยา และลา ลูแบร์ที่เข้าอยุธยาในช่วงเวลาเดียวกันก็ได้กล่าวถึงเมืองพิษณุโลกว่า เป็นเมืองที่มีการค้าขายมาก ช่วยยืนยันความสำคัญของพิษณุโลกในฐานะหัวเมืองและเมืองแห่งการค้า มีการสร้างพระราชวังให้แก่พระราชโอรสที่เมืองพิษณุโลกตามแบบอย่างของเมืองคู่ในสมัยการปกครองของพระเจ้าปราสาททอง กำแพงเพชรตามบันทึกของแชรแวสระบุว่า กำแพงเพชรเป็นเมืองเก่าและเป็นที่รู้จักเป็นวงกว้าง ทั้งขนาดของอาณาเขตและจำนวนผู้คนก็มีอยู่มากพอกับอยุธยา นอกจากนี้ในมิติทางเศรษฐกิจกำแพงเพชรก็เป็นแหล่งผลิตน้ำตาลไปขายที่ญี่ปุ่นและมะละกา (เมืองในมาเลเซีย) นครสวรรค์เป็นเมืองสำคัญเช่นเดียวกันในฐานะชุมทางและแหล่งการค้าสำคัญในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา จากรายงานของเดอ ชัวซีย์ ราชทูตจากฝรั่งเศสได้บันทึกความสำคัญของนครสวรรค์ รวมถึงตากและสุโขทัยว่าเป็นเมืองศูนย์กลางทางการค้าสำคัญของราชอาณาจักรอยุธยา คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร ได้รวบรวมรายชื่อเมืองที่ปรากฏในเอกสารและแผนที่ของชาวต่างชาติที่บันทึกถึงอยุธยา ปรากฏชื่อเมืองที่ปัจจุบันอยู่ในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่าง ไม่ว่าจะเป็นเมืองพิชัยในจังหวัดอุตรดิตถ์ เมืองพิจิตร  เมืองสวรรคโลก นอกจากนั้นยังระบุถึงเมืองขนาดเล็กและชุมชนขนาดใหญ่อื่นอีกที่อยู่รายรอบแม่น้ำเจ้าพระยา เราจะเห็นได้ว่าหลายพื้นที่ในภาคเหนือตอนล่างมีประวัติศาสตร์ที่ย้อนกลับไปได้ถึงช่วงที่ราชอาณาจักรอยุธยาเรืองอำนาจ หรือคือกว่า...

คนล้านนา

spot_img

LATEST STORY

TAG CLOUD