พฤษภาคม 19, 2024

    33 ปี การต่อสู้ต้านเขื่อนแก่งเสือเต้น

    Share

    9 ตุลาคม 2565

    -แพร่- 9 ตุลาคม 2565 พี่น้องตำบลสะเอียบ อำเภอสอง จังหวัดแพร่ จัดพิธีสืบชะตาป่าสักทอง ณ อุทยานแห่งชาติแม่ยม โดยมีกลุ่มเครือข่ายต่าง ๆ อาทิ สมัชชาคนจน กป.พอช.ภาคเหนือ ชุมชนนักกิจกรรมภาคเหนือ กลุ่มเยาวชนตะกอนยม เข้าร่วมพิธีด้วย เพื่อคัดค้านการสร้างเขื่อน และรักษาป่าไม้ให้อยู่คู่กับวิธีชีวิตพ่อแม่พี่น้องตำบลสะเอียบ

    พิธีสืบชะตาป่าสักทอง ได้จัดพิธีบวชป่าตามประเพณีของทางภาคเหนือที่ทำสืบต่อกับมาหลายต่อหลายรุ่น โดยครั้งนี้เป็นการบวชป่าครั้งที่ 4 กลางดงสักทอง เพื่อเป็นอนุรักษ์ต้นสักทอง

    พี่น้องตำบลสะเอียบได้กล่าวว่า ต้นสักทอง 1 ต้นมีมูลค่ามากกว่า 10,000 บาท การจะสร้างเขื่อนขึ้นนั้น ต้องตัดต้นสักทองออกทั้งหมด มูลค่าของต้นสักทองมากกว่างบประมาณในการสร้างเขื่อนเสียอีก อีกทั้งพื้นที่ป่ามีแร่ทองคำ ในพื้นที่ 100 ลบ.ม. มีทองในปริมาณกว่า 1 บาท แต่ยังไง มูลค่าของต้นสักทองก็มีค่ามากกว่าทอง 1 บาท ในการจะสกัดออกมาในแต่ละครั้ง

    นี่คือ เหตุผลในการที่ชาวบ้านต่อต้านการสร้างเขื่อนมานานกว่า 33 ปี เพื่ออนุรักษ์ต้นสักทองให้อยู่คู่กับป่าสืบต่อไป

    Related

    “ชาติพันธุ์ก็คือคน” ความฝันกะเบอะดิน

    เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน ภาพ: ธันยชนก อินทะรังษี “เราเชื่อว่าถ้าชุมชนเข้มแข็ง มีความฝันร่วมกันและยืนยันเป็นเสียงเดียวกันว่าไม่เอาเหมือง เขาก็ไม่สามารถทำอะไรได้อยู่แล้วเพราะเขาไม่ใช่เจ้าของพื้นที่ เราโดนพูดอยู่เสมอว่าเราสู้เขาไม่ได้หรอก เขาเป็นคนใหญ่คนโต...

    ชุมชนริมทางรถไฟบุญร่มไทร กระจกสะท้อนความเลื่อมล้ำผ่านความเป็นเมือง

    เรื่องและภาพ: ธันยชนก อินทะรังษี ท่ามกลางตึกสูงตั้งตะหง่าน และความวุ่นวายในเมืองหลวง  การขยายตัวของเมืองและการพัฒนาเมือง ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อเศรษฐกิจมากมาย แต่นั่นก็ตามมาซึ่งปัญหาทางด้านสังคมเช่นเดียวกัน โดยเฉพาะความเลื่อมล้ำทางรายได้ ความเป็นอยู่...

    อยู่-ระหว่าง-เหนือ-ล่าง: ทำไมผมต้องข้ามจังหวัด​เพื่อไปดูหนัง และจะเป็นไปได้ไหมที่ผมจะได้เห็นโรงหนังอิสระทั่วไทย

    เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย รถยนต์​ก็​ยัง​ไม่มี​ รถเมล์ก็​มา​ไม่ถึง​ เป็นเนื้อเพลงท่อนหนึ่งจากเพลงสาวดอย 4x4 ที่ขับร้องโดยคาราบาว เล่าถึงความยากลำบากของชีวิตที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ผ่านการไม่มีรถส่วนตัวและไม่มีขนส่งสาธารณะ​ที่เข้าถึงได้ง่าย...