วิชชากร นวลฝั้น

นักมานุษยวิทยามือสมัครเล่น ผู้ที่สนใจประเด็นทางสังคมรอบตัว และพยายามตามหาคำตอบเพื่ออธิบายปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น อีกทั้งยังพัฒนาการสื่อสารประเด็นทางสังคมในหลากหลายรูปแบบ เพื่อต้องการให้สังคมเกิดการรับรู้เพิ่มขึ้น
18 POSTS

“แก๊งไรเดอร์” เป้าหมายการรวมกลุ่มของไรเดอร์

Lanner เปิดพื้นที่ให้ทุกคนที่อยากสื่อสาร โดยความคิดเห็นไม่จำเป็นต้องเหมือนกองบรรณาธิการ สามารถส่งมาได้ที่ lanner.editor@gmail.com เรื่อง: วิชชากร นวลฝั้น จากประเด็นอันร้อนแรงทางการเมืองที่ นายศิริโรจน์ ธนิกกุล...

เรื่องเล่าจากนักเรียน “คิวรถขาวรอบสุดท้าย”

เรื่อง: วิชชากร นวลฝั้น เมื่อเข้าสู่การเปิดภาคเรียนการศึกษาของชั้นมัธยมศึกษา เด็กนักเรียนส่วนใหญ่ค่อยๆ ปรับตัวเรื่องการเรียน จากระดับชั้นประถมศึกษาไปสู่ชั้นมัธยมต้น หรือบางคนก็จากมัธยมต้นไปสู่มัธยมปลาย  แต่ยังมีเด็กนักเรียนอีกจำนวนหนึ่งที่ยังต้องปรับตัวกับการเดินทางไปโรงเรียน ซึ่งมีระยะทางห่างไกลจากบ้านและจำเป็นต้องเดินทางด้วยขนส่งสาธารณะ...

“ถนนคนเหิน” เชียงใหม่ เมืองสวย ไร้สาย?

เรื่องและภาพ: วิชชากร นวลฝั้น ช่วงนี้ใครที่ผ่านไปผ่านมาบริเวณถนนรอบคูเมืองจังหวัดเชียงใหม่ มักจะสังเกตเห็นพื้นถนนเป็นหลุมหรือฝายกสูง ซึ่งได้สร้างความสงสัยให้กับผู้ใช้รถใช้ถนนกันอยู่ไม่น้อย ว่าทำไมถึงไม่ทำให้พื้นมันเรียบเป็นปกติเหมือนเดิม และพื้นถนนที่ไม่เรียบเหล่านี้มีอยู่หลายจุดด้วยกันบริเวณรอบคูเมือง หรือการทำเช่นนี้อาจจะเกี่ยวกับโครงการนำสายไฟฟ้าลงดิน ที่ทางเทศบาลนครเชียงใหม่ได้เริ่มโครงการตั้งแต่ปี...
spot_img

Popular

เหลียวหลัง แลหน้า: ขบวนการ ‘คนอยู่กับป่า’ เมื่อการปักหมุดประชาธิปไตย เริ่มจากชายขอบ

เรื่อง : ศรีนิธิรินทร์ ชื่นวณิช ภาพ : ปรัชญา  ไชยแก้ว อาจเป็นถ้อยคำที่สรุปบทเรียนสำคัญของคนตัวเล็กตัวน้อยในพื้นที่ชายขอบ ที่ไม่ได้ต่อสู้เพื่อแค่สิทธิในที่ดินทำกิน หากแต่หมายถึงการปักหมุดประชาธิปไตยจากฐานรากของสังคมไทย...

กองทัพเมียนมาเดินหน้าถล่มพื้นที่ฝ่ายต่อต้านในรัฐฉาน เสียชีวิต 8 เจ็บ 29 อาคารเสียหายกว่า 50 จุด

2 กรกฎาคม 2568 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนไทใหญ่ (Shan Human Rights Foundation) รายงานว่า...

ขบวนการของประชาชนกับปัญหาการพิสูจน์สิทธิคนอยู่กับป่า ท่ามกลางความท้าทายของเสรีนิยมใหม่

เรื่อง : ศรีนิธิรินทร์ ชื่นวณิช ภาพ : ปรัชญา  ไชยแก้ว ในเวที 27 ปีเงื่อนไขการพิสูจน์สิทธิคนอยู่กับป่า...

It’s not my revolution: เมื่อวรรณกรรม ‘แซะพาวเวอร์’ สะกดประวัติศาสตร์

เรื่องและภาพ: กองบรรณาธิการ ความเข้าใจการปฏิวัติ 2475 ไม่ใช่เพียงแค่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมเท่านั้น ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต้องพิจารณาในแง่พลังทางภูมิปัญญาด้วย สิ่งที่เป็นตัวแทนทางภูมิปัญญาที่ชัดเจนที่สุดก็คือ...

ซะป๊ะเพศ เฉดสีล้านนา: สำรวจร่องรอยและตัวตน ‘ปู๊เมีย’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

เรื่อง: ปวีณา หมู่อุบล ในภาษาพูดของคนล้านนา มีคำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในแบบที่สมัยปัจจุบันเรียกว่า ‘กะเทย’ หรือ ‘เกย์’ นั่นคือคำว่า...