ความคิดเห็น

จากโรงไฟฟ้าหงสาถึงวาระการเปลี่ยนผ่านพลังงาน ทุนพลังงานไทยที่ไม่เคยหายไปไหนในร่าง PDP2024

แผน PDP2018 หรือแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าฉบับปี พ.ศ.2561-2580 ระบุว่า ภาคเหนือตอนบนพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงถ่านหินเป็นหลัก โดยโรงไฟฟ้าถ่านหินที่เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าหลักของภาคเหนือตอนบนมีอยู่ 2 โรงไฟฟ้าด้วยกัน ประกอบด้วยโรงไฟฟ้าในประเทศไทย 1...

‘เรารู้สึกไม่ปลอดภัย’  Friend Without Border เปิดรายงาน พบผู้ลี้ภัยในไทยอยู่ภายใต้การคุกคามจากรัฐบาลเผด็จการเมียนมา

สงคราม ความขัดแย้งทางศาสนาและชาติพันธุ์ การปราบปรามประชาชน เป็นสิ่งที่ส่งผลให้เกิดการย้ายถิ่นฐานของคนเป็นจำนวนมากที่ต้องหนีจากความรุนแรงที่เกิดขึ้นในบ้านเกิดของตนไปอาศัยในดินแดนที่ตนเองไม่รู้จักไม่คุ้นเคยเพื่อความปลอดภัย เราอาจรู้จักคนกลุ่มนี้ในนาม ‘ผู้ลี้ภัย’ ซึ่งการลี้ภัยเกิดขึ้นมาโดยตลอดในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ ประเทศไทยเองก็ได้เผชิญกับการลี้ภัยของผู้คนจากประเทศเพื่อนบ้านในช่วงสงครามเย็นทั้งสงครามเวียดนาม การรุกรานสาธารณรัฐประชาชนกัมพูชา(เขมรแดง) ของเวียดนาม รวมถึงความขัดแย้งในเมียนมาที่กินระยะเวลายาวนานล้วนทำให้เกิดการลี้ภัยของประชาชนจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาในประเทศไทย ปัญหาผู้ลี้ภัยเป็นปัญหาระดับโลกที่สหประชาชาติตระหนักถึงเช่นเดียวกันจึงเกิดอนุสัญญาว่าด้วยสถานภาพผู้ลี้ภัย...

การเกิดทุน การขยับชนชั้น และประชาธิปไตยในความเข้าใจ ของชาวบ้าน อ่านเพิ่มเติม

เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2567 ที่ผ่านมา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ได้จัดกิจกรรมในโครงการอ่านเปิดโลก (ครั้งที่ 6) เกี่ยวกับการเปิดตัวหนังสือเรื่อง...

คนเหนือจะใดดีกับแผน PDP บทเรียนจาก ‘แม่เมาะ’ ถึงร่างแผน ‘PDP2024’ ที่ถ่านหินยังไม่หนีไปไหน

แผน PDP (Power Development Plan) หรือชื่อภาษาไทยคือแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้า คือแผนแม่บทในการจัดหาไฟฟ้าเข้าสู่ระบบไฟฟ้าของประเทศไทย โดยเริ่มต้นจากการพยากรณ์ปริมาณไฟฟ้าและจุด Peak ของไฟฟ้าในแต่ละปี จากนั้นจึงวางแผนว่าแต่ละปีจะต้องจัดหาไฟฟ้าเข้ามาสู่ระบบกี่หน่วยและกำหนดให้ผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงใด...

ไม่ใช่แค่ความพร้อม แต่ต้องกระจายอำนาจ สำรวจความเห็น ‘เชียงรายเมืองศิลปะ’ หลังจบเบียนนาเล่

“เชียงรายเมืองแห่งศิลปะ” หลายคนคงคุ้นหูมาบ้างหากได้แวะเวียนมาที่นี่ ทั้งประวัติศาสตร์ที่มีมาอย่างยาวนานในการเป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสนนครหลวงก่อนการเกิดขึ้นของอาณาจักรล้านนา และภูมิศาสตร์ที่ผู้คนเคลื่อนย้ายข้ามแม่น้ำไปมาหาสู่กันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันบริเวณรอยต่อประเทศเมียนมา และ สปป.ลาว ในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ ทำให้พื้นที่นี่มีความไหลเวียนของวัฒนธรรมอยู่เสมอ รวมไปถึงเหล่าศิลปินที่มีอิทธิพลในวงการศิลปะไทย ปัจจัยเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่ประกอบสร้างให้จังหวัดเชียงรายเป็น ‘เมืองแห่งศิลปะ’ ได้ง่าย...