ความคิดเห็น

ท้องถิ่นไม่ใช่สมุดระบายสี: ความซับซ้อนมากกว่า ‘การเมืองสามสี’ บนแผนที่การเลือกตั้งท้องถิ่นภาคเหนือ

เรื่อง: ปองภพ ดั่นสมานฉันท์ชัย หลังการเลือกตั้ง นายก อบจ. ทั่วประเทศ สำนักข่าว นักวิเคราะห์การเมือง รวมนักวิชาการต่างพยายามประเมินผลการเลือกตั้งท้องถิ่น โดยอาศัยคำอธิบาย “การเมืองสามสี”...

เปิดวงจรน้ำตาชาวนาเหนือล่างทำไมถึงออกมาประท้วง?

เรื่อง : ณัฏฐวรรธน์ คล้ายสมมุติ  ตั้งแต่กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ชาวนาภาคกลางและชาวนาภาคเหนือตอนล่างรวมตัวประท้วงรัฐบาล เหตุจากราคาข้าวตกต่ำมาตั้งแต่เดือนมกราคม จากรายงานของ Thai-pbs ประเมินว่ามีชาวนาเข้าร่วมการประท้วงมากกว่า 1,000 คน...

ไตรอัปลักษณ์แห่งรัฐไทยกับการแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5

“รัฐไทยมีปัญหา 2 แบบนั่นคือ Over-centralized รวมศูนย์อำนาจมากเกินไป และ Over-fragmented รวมศูนย์เข้าไปแต่กลับแตกกระจายกัน” รศ.สมชาย ปรีชาศิลปกุล อาจารย์คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่...

‘ระบบตรวจสอบย้อนกลับ’ แนวข้อบังคับภาคธุรกิจกับปัญหาฝุ่นข้ามแดน

ปัญหามลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะฝุ่น PM 2.5 เป็นประเด็นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในหลายพื้นที่ของประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียน โดยมีสาเหตุมาจากทั้งปัจจัยภายในประเทศและปัจจัยข้ามพรมแดน กรกนก วัฒนภูมิ ตัวแทนเครือข่ายติดตามการลงทุนไทยและความรับผิดชอบข้ามพรมแดน ETOs Watch...

เมื่อการตัดสินใจยังกระจุกที่ส่วนกลาง กระจายอำนาจก็แก้ปัญหาฝุ่นไม่ได้ 

“ปัญหาใหญ่ของฝุ่นควันภาคเหนือ คือการที่ผู้ว่าราชการไม่มีอำนาจหน้าที่ในการจัดการต้นตอของหมอกควัน เพราะหน่วยงานที่ดูแลคือส่วนกลาง”  ผศ.ดร.ณัฐกร วิทิตานนท์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พูดถึงการกระจายอำนาจของรัฐกับการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM 2.5 ในภาคเหนือ ซึ่งเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีความซับซ้อนสูง...