พฤษภาคม 7, 2024

    “ในทุกพื้นที่ควรจะมีสื่อเป็นของตัวเอง เพราะว่ามุมมองจะได้เป็นมุมมองของคนในพื้นที่เอง ปัญหาทุกอย่างจะได้ถูกสะท้อนออกมาจากมุมมองของตัวเอง คือพูดง่าย ๆ ว่าทุกพื้นที่ในโลก อำนาจในการกำหนดชีวิต กำหนดชะตากรรม การปกครอง มันควรจะออกมาจากพื้นที่นั้น ​

    Share

    10/05/2022

    คนทุกคนควรจะมีอำนาจในระดับหนึ่ง มีสิทธิในการปกครองตนเองระดับหนึ่ง แต่ว่าอำนาจทั้งหมดถ้ามันไปอยู่กับส่วนกลางหมด มันเท่ากับว่าสิทธิในการเป็นมนุษย์ของเรามันถูกลิดรอนไปตั้งแต่แรก และสื่อก็มีความสำคัญในจุดนี้มาก ในแง่หนึ่งนอกจากสะท้อนก็เป็นการปั้นแต่งมุมมองต่อตัวเราเองและต่อโลกด้วย”​

    — ภัควดี วีระภาสพงษ์ ​
    นักแปล​

    ความเห็นจากการพูดคุยระหว่างกองบรรณาธิการ Lanner กับนักคิด นักวิชาการและศิลปินภาคเหนือ เมื่อเดือนเมษายน 2565 ​

    ภาพ: วรรณา แต้มทอง​

    #lanner

    Related

    ชิวๆ กับความไม่แน่นอน: อารมณ์สายมูกับระบอบเวลาที่ยืดหยุ่น

    เรื่อง: ณีรนุช แมลงภู่* ในยุคสมัยที่การดิ้นรนทำมาหากินเพื่อให้อยู่รอดภายใต้เศรษฐกิจที่ผันผวนและอากาศแบบละติจูดเดียวกับ ‘สวรรค์’ เป็นประสบการณ์สามัญของคนทั่วไป เคยสงสัยไหมว่าทำไมเพื่อน ‘สายมู’ ของเราถึงยังมีเวลาไปกราบไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพระดังทั่วไทย สวมชุดขาวร่วมพิธีกกรรมเสริมแต้มบุญ...

    โทษทีพี่ ‘ติด’ งาน

    เรื่อง: การัณยภาส ภู่ยงยุทธ์*  คุณติดโซเชียลมีเดียหรือไม่ หากคำถามนี้เกิดขึ้นก่อนปี 2009 ซึ่งเป็นปีที่เฟซบุ๊กนำปุ่มกดถูกใจมาใช้งาน คนส่วนใหญ่จะตอบปฏิเสธ หรือไม่ก็บอกว่าตัวเองก็แค่ชอบเล่นโซเชียลมีเดีย แต่ไม่ถึงกับขั้น “เสพติด”...

    ชีวิตบนเส้นด้ายของเกษตรกรหลังบ้านอีอีซี

    เรื่อง: กัมปนาท เบ็ญจนาวี เกษตรกรหลังบ้านอีอีซีส่วนใหญ่ถูกจำกัดในการเข้าถึงทรัพยากรและอำนาจหลังการปิดล้อมใหม่ โดยเฉพาะการขาดการเข้าถึงที่ดิน ทรัพยากรท้องถิ่น รวมถึงอำนาจในการมีส่วนร่วมกำหนดภูมิทัศน์การพัฒนาในท้องถิ่น ทำให้เกษตรกรมีเงื่อนไขที่จำกัดในการคาดเดาและกำหนดอนาคตของตนเอง จนนำไปสู่การก่อตัวขึ้นของสถานการณ์ความขัดแย้งและความแตกต่างทางสังคม มากกว่าจะเป็นผลลัพธ์ที่นำไปสู่การกระจายผลประโยชน์แก่ทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียม...