พฤษภาคม 6, 2024

    ค่าฝุ่นภาคเหนือวันนี้พุ่งสูง เชียงกลับมาติดอันดับ 1 ของโลกอีกครั้ง พร้อมเกือบเหมายกกระดาน 10 อันดับค่าฝุ่นในไทย

    Share

    5 เมษายน 2566 เว็บไซต์ iQAir รายงานคุณภาพอากาศประจำวัน เมื่อเวลา 10.00 น. เชียงใหม่มาเป็นขึ้นอันดับ 1 ของโลก (293 US AQI) จากการจัดอันดับเมืองที่มีค่าฝุ่นมากที่สุดทั่วโลก

    ในขณะที่เชียงใหม่ยังคงประกาศเขตภัยพิบัติไฟป่า เพิ่มเติม เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2566 พื้นที่ อำเภอเชียงดาว ได้แก่ 

    หมู่ที่ 1,2,5, และ 13 ตำบลเมืองนะ 

    หมู่ที่ 2,4, และ 6 ตำบลทุ่งข้าวพวง 

    ครอบคลุมพื้นที่อุทยานแห่งชาติผาแดง ในส่วนที่เกิดไฟป่า

    สถานการณ์ฝุ่นภาคเหนือวันนี้ (5 เมษายน 2566)

    โดยพื้นที่ที่มีค่าฝุ่นสูงที่สุดในประเทศไทย ได้แก่

    อันดับ 1 อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน (482 US AQI)

    อันดับ 2 อำเภอทุ่งช้าง จังหวัดน่าน (441 US AQI)

    อันดับ 3 อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ (430 US AQI)

    อันดับ 4 อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ (412 US AQI)

    อันดับ 5 อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ (408 US AQI)

    อันดับ 6 อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ (397 US AQI

    อันดับ 7 อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน (370 US AQI)

    อันดับ 8  อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ (323 US AQI)

    อันดับ 9 อำเภอห้างฉัตร จังหวัดลำปาง (318 US AQI)

    อันดับ 10 อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย (305 US AQI)

    Related

    ชิวๆ กับความไม่แน่นอน: อารมณ์สายมูกับระบอบเวลาที่ยืดหยุ่น

    เรื่อง: ณีรนุช แมลงภู่* ในยุคสมัยที่การดิ้นรนทำมาหากินเพื่อให้อยู่รอดภายใต้เศรษฐกิจที่ผันผวนและอากาศแบบละติจูดเดียวกับ ‘สวรรค์’ เป็นประสบการณ์สามัญของคนทั่วไป เคยสงสัยไหมว่าทำไมเพื่อน ‘สายมู’ ของเราถึงยังมีเวลาไปกราบไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพระดังทั่วไทย สวมชุดขาวร่วมพิธีกกรรมเสริมแต้มบุญ...

    โทษทีพี่ ‘ติด’ งาน

    เรื่อง: การัณยภาส ภู่ยงยุทธ์*  คุณติดโซเชียลมีเดียหรือไม่ หากคำถามนี้เกิดขึ้นก่อนปี 2009 ซึ่งเป็นปีที่เฟซบุ๊กนำปุ่มกดถูกใจมาใช้งาน คนส่วนใหญ่จะตอบปฏิเสธ หรือไม่ก็บอกว่าตัวเองก็แค่ชอบเล่นโซเชียลมีเดีย แต่ไม่ถึงกับขั้น “เสพติด”...

    ชีวิตบนเส้นด้ายของเกษตรกรหลังบ้านอีอีซี

    เรื่อง: กัมปนาท เบ็ญจนาวี เกษตรกรหลังบ้านอีอีซีส่วนใหญ่ถูกจำกัดในการเข้าถึงทรัพยากรและอำนาจหลังการปิดล้อมใหม่ โดยเฉพาะการขาดการเข้าถึงที่ดิน ทรัพยากรท้องถิ่น รวมถึงอำนาจในการมีส่วนร่วมกำหนดภูมิทัศน์การพัฒนาในท้องถิ่น ทำให้เกษตรกรมีเงื่อนไขที่จำกัดในการคาดเดาและกำหนดอนาคตของตนเอง จนนำไปสู่การก่อตัวขึ้นของสถานการณ์ความขัดแย้งและความแตกต่างทางสังคม มากกว่าจะเป็นผลลัพธ์ที่นำไปสู่การกระจายผลประโยชน์แก่ทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียม...