สัมภาษณ์

Lanner Joy: “มันจะดีขึ้นได้มันต้องเกิดจากการสนทนา” เปิด Dialogue ให้เชียงรายเคลื่อนเมืองด้วยข้อมูลกับ ‘เชียงรายสนทนา’

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “เคลื่อนเมืองด้วยข้อมูล ผ่านเรื่องราวของผู้คน จากบทสนทนาเพื่อสร้างคลังความคิด” แม้จะยังยืนระยะมาไม่นานมาก แต่ที่ผ่านมาก็สร้างความน่าสนใจได้อย่างน่าตื่นเต้นกับ “เชียงรายสนทนา”...

ผู้ว่าราชการจังหวัด ราชการส่วนภูมิภาค ความอีนุงตุงนังกับอำนาจท้องถิ่น

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว กระแสการเรียกร้องให้มีการเลือกตั้งผู้ว่าราชการจังหวัดในประเทศไทยดังขึ้นเป็นครั้งคราว ล่าสุดเมื่อการเลือกตั้งผู้ว่ากรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ที่พาเอาชัชชาติ...

ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ เมื่อ AI เข้ามา การศึกษาไทย การศึกษาท้องถิ่น ต้องตั้งรับปรับตัวกันอย่างไร!?

เรื่อง: องอาจ เดชา ชัชวาลย์ ทองดีเลิศ ในฐานะนายกสมาคมการศึกษาทางเลือกไทย (สกล.) และผู้ก่อตั้ง ‘โฮงเฮียนสืบสานภูมิปัญญาล้านนา’ ได้บอกเล่าถึง...

Lanner joy คุยกับศิลปะ เดชากุล ถึง ‘Crackers Books’ สำนักพิมพ์กรุบกรอบในพิษณุโลก ที่จะขอทำให้วิชาการไม่ต้องปีนบันไดอ่าน

เรื่องและภาพ : ณัฏฐวรรธน์ คล้ายสมมุติ Crackers Books เป็นสำนักพิมพ์เปิดใหม่และใกล้หนึ่งขวบปี เน้นการนำเสนอประเด็นสังคมการเมือง ปรัชญาการเมืองเบื้องต้นลามไปจนถึงแนวคิดทฤษฎีทางสังคมศาสตร์ และที่มากไปกว่านั้นคือนำเสนอความรู้ความคิดหลากหลายรูปแบบทั้งพอดแคสต์...

Lanner Joy: ‘ลำลอง’ กลุ่มคนรุ่นใหม่ที่อยาก ‘ลองทำดู’ ให้บ้านที่ชื่อว่า ‘ลำปาง’ มีทางเลือกมากกว่าเดิม

เรื่อง : วิชชากร นวลฝั้น ภาพ : ลำลอง - lamlong เพิ่งผ่านพ้นไปหนึ่งสัปดาห์เต็ม ๆ...

สืบสกุล กิจนุกร เปลี่ยนวิธีคิด ก้าวข้ามกับดักเขตแดนรัฐชาติและกระจายอำนาจ ปัญหา #น้ำท่วมเชียงราย

เรื่อง: ปุณญาพร รักเจริญ ถึงแม้สถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ในจังหวัดเชียงรายที่ผ่านมาขณะนี้ได้คลี่คลายลงอย่างต่อเนื่อง ประชาชนและอาสาสมัครเร่งทำความสะอาดฟื้นฟูเมืองหลังน้ำลด ถือได้ว่าเป็นวิกฤตการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรงที่สุดในรอบ 40 ปี และได้สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่ประชาชนทั้งร่างกายและทรัพย์สินโดยเมื่อวันที่ 18...

คุยกับ ‘สุวิชานนท์ รัตนภิมล’ กับ 31 ปี บทเพลง ‘สานใจคนรักป่า’ ถอดรหัสความห่วงใยเตือนภัยธรรมชาติที่เริ่มรุนแรง

เรื่อง: องอาจ เดชา พี่นนท์-สุวิชานนท์ รัตนภิมล เป็นทั้งนักเขียน กวี และคนเขียนเพลง มายาวนานหลายสิบปี ทำงานและคลุกคลีอยู่ร่วมกับพี่น้องชาวบ้าน...

Lanner Joy “ไฮโฮะเชียงใหม่” ฤดูนี้บ่มีเหงา ดนตรีจะเปลี่ยนเมือง

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “เปลี่ยนหน้าโลว์ให้เป็นไฮ! ด้วยพลังดนตรี” มีอะไรให้ได้ตื่นเต้นอีกแล้วกับ “ไฮโฮะ เชียงใหม่” High...

Lanner Joy:  ยศชัย ชัยพรหมมา บทสนทนาของความธรรมดาและความโดดเดี่ยวเหมือนกันของร้านกาแฟและการวิ่งเทรล

เรื่องและภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “วิ่งเทรลกับทำร้านกาแฟคือมันเป็นอะไรที่โดดเดี่ยวเหมือนกัน อาจเพราะเราอยากจัดการอะไรที่มันจบในตัว” หากใครผ่านไปผ่านมาในย่านสวนดอก คงคุ้นเคยหรือผ่านตากันมาบ้างกับ ‘inestinct25’ ร้านกาแฟเล็ก ๆ ที่ซ้อนอยู่ในซอยเชียงคำ...

Lanner Joy : พื้นที่แห่งภราดรภาพ (Solidarity) ที่อยู่เหนือเชื้อชาติ ผ่านศิลปะและงานคราฟท์ ณ ร้านเล็กในเมืองใหญ่ Golden Land Solidary Collective 

เรื่องและภาพ: ศุภกานต์ วรินทร์ปราโมทย์ เหตุการณ์ทางการเมืองในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาทำให้ผู้คนที่แลดูห่างไกลแต่แท้จริงแล้วใกล้ตัวเรากว่าที่คิด ต้องระหกระเหิน นำพามาซึ่งการตีความคำว่า ‘บ้าน’ เสียใหม่อย่างหาทางย้อนกลับไม่ได้ เชียงใหม่เองก็เป็นที่พำนัก เสมือนโอเอซิสที่โอบรับผู้จำต้องเดินทางไกลเหล่านี้...

ธิกานต์ ศรีนารา: มอง ‘คณะราษฎร’ มุมกลับ กับ “การวิพากษ์” ที่หายไป

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว "คือด้านหนึ่ง 2475 มันสร้างแรงบันดาลใจทางการเมืองให้กับเยาวชน มีคุณูปการ แต่ว่ามันต้องมีด้านวิพากษ์ด้วย วิพากษ์มันหน่อย คือด้านที่วิพากษ์มันหายไปในสังคมไทย" ผ่านพ้นมาร่วมเดือนแล้วสำหรับวันครบรอบ...

Lanner Joy: สำรวจมุมมองนักติดตั้งผลงานศิลปะจากเชียงใหม่ และก้าวใหม่แห่งการก่อตั้ง “New Found Art Handler” 

เรื่องและภาพ: อนันตญา ชาญเลิศไพศาล อาชีพนักติดตั้งผลงานศิลปะ หรือ “อาร์ต แฮนเลอร์” (Art Handler) เป็นอาชีพที่กำเนิดขึ้นมาพร้อมกับการขยายตัวของพิพิธภัณฑ์แกลเลอรี่ในยุคสมัยใหม่...

HISTORIC WIN FACES HURDLES นิทรรศการ Pop-up ในร้านหนังสือ บนใบหน้าที่นึกไม่ออก

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม 16 พฤษภาคม 2566 Bangkok Post รายงานข่าว HISTORIC...

ไผบ่ม่วน ฮาม่วน: “ธาดา” จากวันที่เร่งวอลลุ่มเท่ากับมาสเตอร์ ถึงวันที่อยากเติบโตไปพร้อมกัน

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว ทา-ดา แปลว่า ผู้สร้างสรรค์ ด้วยความหมายที่เหมาะเหม็งขนาดนี้เลยไม่แปลกที่ “ตี๋”...

Lanner Joy : ความฝัน อุดมการณ์ ความรัก ของแอลลี่ เด็กสาวที่เดินทางมา Gap Year บนเส้นทางสายศิลปินที่เชียงใหม่

เรื่องและภาพ: ศุภกานต์ วรินทร์ปราโมทย์ บ่ายวันหนึ่งแถววัดร่ำเปิง เราเดินเข้าไปยังคาเฟ่ริมทางนามว่าสนิมทุน ในอดีตได้ปิดตัวลงช่วยโควิด แต่แล้วก็ถูกชุบชีวิตอีกครั้งผ่านกลุ่มนักกิจกรรม ในช่วงไม่กี่เดือนที่ผ่านมายังเป็นพื้นที่รวมตัวของนักกิจกรรมจากประเทศเพื่อนบ้าน กิจกรรมเสวนา...

Lanner Joy: Meltdistrict ‘อำเภอหลอมละลาย’ สตูดิโอหลอมขยะพลาสติกเท่ากองภูเขา ให้เป็นงานดีไซน์ที่ใช้ได้และยั่งยืน

  Meltdistrict ก่อตั้งขึ้นในปี 2564  เป็นทั้งแบรนด์และยังเป็นสตูดิโอที่นำขยะพลาสติกมารีไซเคิล 100% แล้วหลอมเป็นแผ่นวัสดุสำหรับงานออกแบบเฟอร์นิเจอร์ อินทีเรียดีไซน์ และของใช้ในครัวเรือน แต่กว่าจะที่ได้มาซึ่งแผ่นวัสดุลายสวย...

Lanner JOY : DEN Souvenir ร้านขาย Zine และของที่ระลึกซิ่ง ๆ กับการเป็นที่รู้จักในระดับโลก  

ในมหาสมุทรแห่งคอนเทนต์และโซเชียลมีเดีย ทำให้เราเกิดคำถามว่า สื่อสิ่งพิมพ์ตายแล้วจริงหรือ? คงใช่และไม่สำหรับใครบางคน แต่สำหรับ “จง - กิติวัฒน์ มัทนพันธ์”...

Lanner Joy: เมื่อการขับเคลื่อนเรื่อง “ความยั่งยืน” อาจเริ่มต้นที่การทำกับข้าว จาก Barefoot Cafe สู่ร้านโพสพ ที่ยังคงแนวคิด เล่าเรื่องเชียงใหม่ผ่านวัตถุดิบท้องถิ่นยังไงให้ภูมิใจในแบบของเอิน

ประเทศเชียงใหม่ นอกจากร้านกาแฟที่มีให้ลองชิมแทบทุก 500 เมตรแล้วนั้น ไม่ว่าใครเมื่อได้มาเที่ยวก็ต่างติดใจในรสชาติร้านอาหารเด็ด ๆ จากหลายเจ้า หลายแขนง ทั้งอาหารไทย,...

Lanner Joy: ซามี่ย์ – จากดอกไม้ในแดนไกล สู่การสร้างพื้นที่ Subculture เมื่อความฝันปะทะความจริง จึงบรรจบที่ศาลา Inchala 

เรามีโอกาสได้กลับไป Inchala ร้านชากลางป่า ตั้งอยู่ไม่ไกลจากในเมือง ที่มีบรรยากาศรายล้อมไปด้วยต้นไผ่และเสียงนกร้อง ทั้งยังเป็นพื้นที่เชื่อมต่อจิตวิญญาณของผู้คนในเชียงใหม่ที่รักในเสียงดนตรี ศิลปะ และงานคราฟต์ บ่อยคร้ังที่พื้นที่แห่งนี้ทำให้เราได้เจอกับเพื่อนเก่า...

Lanner Joy : นุชชี่แห่งร้านมาเดฯ สาวนักผจญภัยผู้พาตนเองทำความรู้จักกับเชียงใหม่อีกครั้งผ่านโลกของ Slow Food, ดนตรีและความสัมพันธ์

พื้นที่ “เวิ้งเหล็กแดง” ครั้งหนึ่งเคยเป็นโครงสร้างว่าง ๆ ในย่านท่าแพ นอกเหนือจากบาร์ดนตรียุคบุกเบิกอย่างท่าแพอีสท์ฯแล้ว ยังเป็นจุดรวมชุมชนคาเฟ่และร้านอาหารที่นำเสนอความแตกต่าง เป็นทางเลือกที่โอบกอดภูมิลำเนาที่เต็มไปด้วยวัตถุดิบท้องถิ่นที่อุดมสมบูรณ์ในภาคเหนือ กลางเมืองเชียงใหม่ในเวิ้งเหล็กแดงแห่งนี้...

Lanner Joy : พื้นที่อนาคตร่วม ผสานทุกศาสตร์ไว้ในโลกของวันพรุ่งนี้ จินตนาการที่สร้างได้ผ่านจริตของการ “เล่น” และ “ทดลอง” แบบเวฟ ๆ

บ่ายแก่ ๆ ส่งท้ายฤดูร้อนในเดือนพฤษภาคม เมื่อเราเดินลัดเลาะเข้าไปในคูเมืองเชียงใหม่โซนวัดพระสิงห์ เข้าไปยังพื้นที่บ้านสวน มีต้นไม้สีเขียว มีชิงช้า และเสียงแจ้ว ๆ...

“ชาติพันธุ์ก็คือคน” ความฝันกะเบอะดิน

“เราเชื่อว่าถ้าชุมชนเข้มแข็ง มีความฝันร่วมกันและยืนยันเป็นเสียงเดียวกันว่าไม่เอาเหมือง เขาก็ไม่สามารถทำอะไรได้อยู่แล้วเพราะเขาไม่ใช่เจ้าของพื้นที่ เราโดนพูดอยู่เสมอว่าเราสู้เขาไม่ได้หรอก เขาเป็นคนใหญ่คนโต มีเงินมีอำนาจ ที่เขาพูดมามันจริงหมดเลย แต่เราก็เป็นคนที่มีสิทธิ์เหมือนกัน ถึงแม้เราไม่มีอะไร...

Lanner Joy : จากใจผู้สร้างสเปซศิลปะ SOME SPACE ที่อยากเห็นเด็กศิลป์รุ่นใหม่ทำงานที่รักได้โดยไม่ต้องย้ายไปเมืองอื่น

เป็นเวลานานแล้วที่ไม่ได้มาเยือนชุมชนควรค่าม้า ฐานทัพของ Addict Art Studio สตูดิโอที่ทำให้เทศกาลศิลปะชุมชนในเชียงใหม่กลายเป็นหมุดหมายประจำปีของใครหลายคน วันนี้เราได้กลับมาอีกครั้งเพื่อพบกับเพื่อนอีกคนหนึ่ง ที่เพิ่งรู้จักกันได้ไม่นานผ่านงาน Artist...

แผน ‘NAP’ เครื่องมือด้านสิทธิมนุษยชนดักจับฝุ่นพิษข้ามแดน

ในช่วงที่หลายพื้นที่ในประเทศไทยเผชิญกับปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 เกินค่ามาตรฐาน หลายคนมักโฟกัสไปที่ฝุ่นจากการเผาไหม้ตอข้าวโพด แต่แท้จริงแล้วยังมีอีกหนึ่งแหล่งกำเนิดฝุ่นพิษที่น่ากังวลไม่แพ้กัน นั่นคือฝุ่นจากโรงงานอุตสาหกรรม อาจกล่าวได้ว่าฝุ่นพิษจากไร่ข้าวโพดข้ามแดนเกิดขึ้นเป็นฤดู แต่ฝุ่นภาคอุตสาหกรรมเกิดขึ้นเกือบทั้ง 365...

Lanner Joy : การเดินทางของซุปเปอร์ฮีโร่ Healthtech สตาร์ทอัพสัญชาติเชียงใหม่ กับการรักษาโรคไมเกรนด้วยจิตวิญญาณนวัตกร

เมื่อเดินลัดเลาะเข้าไปในย่านศิริมังคลาจารย์ นอกจากคาเฟ่ในตรอกซอกซอยที่หลบซ่อนจากความวุ่นวายในโซนนิมมานฯ หากสังเกตดี ๆ ย่านแห่งนี้เป็นฐานทัพของบริษัทสตาร์ทอัพและเทคโนโลยีอยู่ไม่น้อย  ไม่น่าเชื่อว่าในพื้นที่เพียงไม่กี่ตารางกิโลเมตรในหัวมุมด้านทิศตะวันตกของคูเมืองเชียงใหม่ จะเป็นแหล่งบ่มเพาะนวัตกรรมทางสุขภาพที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้ชีวิตผู้คนมากมาย และในพื้นที่เล็ก ๆ แห่งนี้เอง...

วิกฤติการณ์ฝุ่น PM2.5 ระยะยาวของชีวิต สภาะวะการตายผ่อนส่ง ของคนภาคเหนือ

วิกฤตการณ์ทางสภาพอากาศที่เกิดขึ้นในภาคเหนือนั้น ไม่ว่าจะปีไหน ๆ ทุกคนจะต้องได้รับรู้ มีเสียงหรือคำวิจารณ์จากคนในพื้นที่ที่ต้องประสบกับปัญหาฝุ่นพิษดังกล่าวโดยตรง พื้นที่ของข่าวมีการนำเสนอปัญหาและนโยบายจากรัฐบาล หรือภาพเจ้าหน้าที่รวมไปถึงอาสาสมัครที่ดมควัน เสี่ยงชีวิตไปกับภารกิจดับไฟ จากที่กล่าวเบื้องต้นเราจะเห็นว่า...

My Hometown Project เล่นในบ้านทัวร์ในบ้าน แบบ View From The Bus Tour ที่กำลังจะบอกว่ากระจายอำนาจเป็นเรื่องสำคัญ

“สิ่งที่ผมหวังว่าจะเกิดขึ้นจากการจุดชนวนโปรเจคนี้คือ (1) นำเสนอโมเดลการเดินสายโชว์ดนตรีออริจินัลในเชียงใหม่ สู่ความเป็นไปได้ใหม่ ๆ ให้กับนิเวศดนตรี ไม่ว่าจะในมุมของ music venues...

Lanner Joy : ส่อง “จักรวาลชับบี้” ธุรกิจซัพพลายเออร์รุ่นเล็กแต่ใจใหญ่ กับปรัชญา “เราจะไม่ยอมทำนาบนหลังคน”

บ่ายวันหนึ่งในเดือนมีนาคม เราเดินเข้าไปในคาเฟ่ไซส์จิ๋วแนวสตรีทย่านเจ็ดยอดเพื่อพบกับเพื่อนร่วมงานคนหนึ่ง ที่ ๆ เจ้าของบทสนทนาแนะนำว่าเปรียบเสมือน “Comfort Zone” เป็นพื้นที่ปลอดภัยใกล้บ้านที่เขามักมาใช้เวลาว่างอยู่บ่อยครั้ง และเราก็ไม่แปลกใจเลยที่ผู้คนในร้านแทบทุกคนรู้จักเขา...

หมุนเวียนมิใช่ทำลาย วิถีชีวิตคนอยู่กับป่า ที่คนเมืองมองว่าทำลาย

รายวิชาการสื่อสารเพื่อเสริมพลังทางสังคม คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในโครงการ ‘การศึกษาไร่หมุนเวียนในแง่มุมด้านวัฒนธรรม การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดอคติเรื่องชาวเขาทำลายป่า‘ “ชาวเขาทำลายป่า” “เวลามีปัญหาอะไร คนอยู่กับป่าอย่างเรา ก็จะเป็นแพะรับบาปตลอด” วาทกรรมชาวเขาทำลายป่าเป็นวาทกรรมที่ถูกผลิตซ้ำมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษและกดทับพวกเขาให้ตัวเล็กลงเรื่อย...

สวัสดีคุณผู้ฟังทุกท่าน เสียงที่ได้ยินอยู่ขณะนี้คือเสียงของ ‘ดีเจลูกหมู’ นิพนธ์ สุวรรณรังษี กับรายการมาลัยลูกทุ่ง

เรื่อง: ธันยชนก อินทะรังษี “มาลัยลูกทุ่ง” คำนี้อาจจะฉายภาพอดีตของแห่งความหลังของใครบางคน ให้นึกย้อนไปถึงช่วงเวลาเมื่อครั้งยังเยาว์ รายการวิทยุชื่อดังที่เป็นตำนานของจังหวัดเชียงใหม่ กับนิพนธ์ สุวรรณรังษี หรือ...

ส่งท้ายปีกับ “อคายนัม สมุดวาดฝัน” การออกเดินทางบนรถบรรทุกโรงละครเคลื่อนที่ 24 จุดหมายที่ปลายฝัน

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “เมื่อทีชต้องออกเดินทางตามหาความฝันตามคำสั่งของคุณปู่ ทั้ง ๆ ที่เขาเองก็ไม่รู้ด้วยซ้ำว่าความฝันคืออะไร หน้าตาเป็นแบบไหน...

‘เป็นคอนเทนต์ครีเอเตอร์มันไม่ง่าย’ เมืองสร้างสรรค์ทำอาชีพสร้างสรรค์อยู่ไม่ได้

เรื่องและภาพ : รัชชา สถิตทรงธรรม ,ชัยนิวัตร สิงห์สถิตย์/Activist Journalist “คอนเทนต์ครีเอเตอร์ (Content Creator)” เราเริ่มได้ยินและเห็นคำนี้ปรากฏบ่อยขึ้นในวงการสื่อสารเพื่อการโฆษณาและประชาสัมพันธ์นับตั้งแต่การเปลี่ยนผ่านจากอนาล็อกสู่ดิจิทัล...

Food culture: “ถั่วเน่า” อีกหนึ่งของกิ๋นของผู้คนที่หลากหลายชาติพันธุ์ในพะเยา

เรื่องและภาพ : กมลชนก เรือนคำ แม้ว่าเราจะถูกใจหรือไม่ถูกใจ ผลคัดเลือก "1 จังหวัด 1 เมนู...

อิสรภาพบนกระดานสเก็ต จากเชียงใหม่ถึงฮานอย การเดินทางไร้ระเบียบบนสเก็ตบอร์ดของ โตโต้-จิรวัฒน์ นาวาจักร์

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “อิสรภาพเวลาที่อยู่บนสเก็ตบอร์ดทำให้ไม่เคยคิดจะเลิกเล่นมันอีกเลยทั้งชีวิต” ‘Tony Hawk’ Pro Skateboarder ผู้ลือลั่นที่สุดในโลก...

“ถ้าไม่ไป ก็เสียชาติเกิด” Side Story 50 ปีนักเรียนภาคเหนือกับประชาธิปไตยในเดือนตุลา

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว เรานัด ‘สุทธิศักดิ์ ปวราธิสันต์’ ที่สวนอัญญา เฮือนครูองุ่น...

‘ตุลามาแอ่ว’ กระจายอำนาจ กระจายความรู้ คุยกับ ‘ดาว’ ประกายดาว คันธะวงศ์ ถึงความหวังที่ต้องทะยานให้ไกลกว่าห้องเรียนธรรมดา

เรื่องและภาพ: กองบรรณาธิการ เมื่อการเรียนรู้ไม่ได้จำกัดอยู่แค่ในห้องเรียน “ตุลามาแอ่ว” เทศกาลเชียงดาวเดือนแห่งการเรียนรู้ฤดูหนาว ด้วยนิยามสุดน่ารักว่าทุกคนสามารถออกแบบการเรียนรู้ที่ได้เองตลอดเดือนตุลาคมที่อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ “เราเป็นคนเชียงดาว เราอยากทำอะไรบ้างอย่างให้เกิดขึ้นในอำเภอเชียงดาว ที่ไม่ใช่แค่เทศกาลเพื่อความรื่นรมและเฮฮาอย่างเดียว แต่มันน่าจะมีเทศกาลอื่นๆ...

เมื่อเชียงใหม่เป็นห้องซ้อมอยู่แล้ว ก็ทำให้มันเป็นโรงละครไปดิ! คุยกับ กอล์ฟ-นลธวัช มะชัย ถึง Chiang Mai Performing Arts Festival 2023 ความทะเยอทะยานล่าสุดที่จะทำเทศกาลละครในเมืองเชียงใหม่

เรื่อง: กองบรรณาธิการ 9 วันเต็ม แบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน กลับการเปลี่ยนบ้านแปลงเมืองเชียงใหม่ให้กลายเป็นลานละครในดวงดาว Pantomime ครั้งแรกกับเทศกาลศิลปะการแสดงเชียงใหม่ Chiang Mai...

นักผจญเพลิง: ดั่งพิษควันโหมกระหน่ำ ซ้ำเติมในฐานะคนใช้แรง

กลิ่นควันคละคลุ้งลอยไปในห้วงอากาศ นัยต์ตากลับพาภาพเบื้องหน้าให้เลือนรางมืดมนยิ่ง ความปลอดภัยเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด เมื่อต้องเผชิญอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ราวกับนิรย- กำลังเรียกหา สองมือประคองอุปกรณ์สื่อสารอย่างทุลักทุเล นิ้วเรียวรีบกดไปที่เบอร์ 199...

คุยกับภาคภูมิ แสงกนกกุล: ตระเวนเส้นทางกระจายอำนาจการคลังอันขรุขระ ที่ต้องเลี้ยวหลบระบบอุปถัมภ์แบบไทยๆ

เรื่องและภาพ ณัฐชลี สิงสาวแห มีอะไรรออยู่ในเส้นทางการกระจายอำนาจ เราขอชวนร่วมทริปสำรวจเส้นทางสู่การกระจายอำนาจด้านการคลังในประเทศไทย และก่อนที่จะกล่าวถึงเนื้อหนังของการกระจายอำนาจ “ภาคภูมิ แสงกนกกุล” จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่...

ลองลำพูน เปลี่ยนเมืองรองให้กลายเป็นเมือง belong ของทุกคน

27 สิงหาคม 2566 สัมภาษณ์/เรียบเรียง/ภาพถ่าย: กนกพร จันทร์พลอย  “ลำพูนมันเป็นเส้นตรงมาตลอด มันไม่ได้แย่ลงหรือดีขึ้น ถูกมองว่าเป็นเมืองผู้สูงอายุ แต่เราว่าลำพูนมันคือขั้นกว่า มันคือผู้ป่วยติดเตียง...

เราคือคณะก่อการล้านนาใหม่ นี่คือการเรียกคืนสิทธิจัดการตนเองจากรัฐผู้ฉกฉวย 

เรื่องและภาพ: ณัฐชลี สิงสาวแห “คณะก่อการล้านนาใหม่” ก่อกำเนิดขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ซึ่งถูกเรียกว่าภาคเหนือ ผืนดินที่อยู่ทาง “ทิศเหนือของกรุงเทพฯ” เมืองหลวงแห่งประเทศไทย พื้นที่แห่งนี้เต็มไปด้วยภูเขา...

Wherever Project คืนสู่เหย้าชาวละคร ที่ไม่ใช่แค่ Reunion แต่จะสร้าง Union ต่างหากเล่า!

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม, ปรัชญา ไชยแก้ว ภาพถ่าย: ปรัชญา ไชยแก้ว ช่วงเรียนมหา’ลัย อาจจะเป็นช่วงเวลา 4...

แวะมาลา ยังบ่สิ้นสายแนน คุยกับฮวก-อรุณรุ่ง สัตย์สวี 24 ปีแห่งความหลัง ’สุดสะแนน’ ก่อนปิดชั่วคราว

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพถ่าย: ปรัชญา ไชยแก้ว เป็นเรื่องชวนใจหายไม่น้อยเหมือนกันสำหรับการปิดร้านชั่วคราวอย่างไม่รู้กำหนดเปิดของ ‘สุดสะแนน’ ร้านกินดื่มที่อยู่คู่เชียงใหม่มากว่า 24 ปี...

“ระบบการเมืองที่เข้มแข็ง ต้องมีการรวมกลุ่มข้างนอกของประชาชนด้วย” ว่าด้วยหลังเลือกตั้งกับความร้อนระอุ ถ้าขวางประชาชนไม่จบง่าย

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพถ่าย: ปรัชญา ไชยแก้ว เป็นเวลาร่วมหนึ่งเดือนเต็มที่ประชาชนไทยได้ออกไปใช้สิทธิในการเลือกตั้ง เลือกคนที่ใช่และพรรคการเมืองที่ชอบ โดยมีอนาคตของประเทศเป็นเดิมพัน แน่นอนว่าพรรคการเมืองแต่ละพรรคที่ลงสนามก็ต่างงัดนโยบายและคำสัญญาออกมาฟาดฟันอย่างดุเดือด ซึ่งผลคะแนนอย่างไม่เป็นทางการ พรรคก้าวไกลกวาดไป...

ศักดินาหลบไปถึงเวลาสามัญชน คุยกับตัวแทนพรรคสามัญชนเขตงานภาคเหนือ ที่ไม่ได้อยู่เหนือหัวใคร

ตั้งแต่ห้วงเวลาของการรัฐประหารโดย คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เราคงจะได้ยินชื่อของ ”พรรคสามัญชน” ในฐานะของขบวนการของนักกิจกรรม NGOs และเครือข่ายชาวบ้านที่เรียกร้องเพื่อประชาธิปไตยและความเท่าเทียม ที่เชื่อว่าชาวบ้านสามัญชนคนธรรมดาทั้งหลายเป็นส่วนหนึ่งและมีส่วนร่วมทางการเมืองได้ในทุกระดับ...

ถ้านโยบายสาธารณะดีไร้การรวมศูนย์ ลมหายใจจะดีไปด้วย พูดคุยกับหนุ่ย–ชนกนันทน์ นันตะวัน ในวันที่ฝุ่นมาเราอาจจะตายกันหมด

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว วิกฤตฝุ่น PM 2.5 ในพื้นที่ภาคเหนือที่เราสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า หลายคนเริ่มมีอาการหายใจไม่คล่อง แสบตา ทัศนวิสัยในการมองที่มองไปทางไหนก็เห็นแต่ฝุ่นสีเทาขาวปะปนลอยในอากาศ...

น่าเศร้าที่ผู้ใหญ่ในบ้านเมืองมองเด็กเป็นศัตรูไม่ใช่อนาคตของชาติ

14 มกราคม 2566 พูดคุยกับ 2 เยาวชน ที่ถูกห้ามจัดกิจกรรมอยากบอกอะไรกับผู้ใหญ่เนื่องในงานวันเด็กแห่งชาติ หลังจากที่เมื่อช่วงเช้าของวันนี้ (14 ม.ค. 66)...