ความคิดเห็น

ปริทัศน์ความเป็นไท(ย): จากการอพยพเคลื่อนย้าย สู่ประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย

เรื่อง: ชัยพงษ์  สำเนียง ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (1) ความเป็นไทยเป็นสิ่งที่เราคิดว่ามีความแก่นแท้คงที่ไม่เปลี่ยนแปลง มีความเป็นมายาวนานซึ่งกลับไม่ใช่อย่างนั้นเลยเพราะความเป็นไทยเป็นสิ่งที่มีความลื่นไหล และเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดๆ ความเป็นไทยไม่ได้ฝังอยู่ในเลือดเนื้อ แต่เป็นสิ่งที่ถูกประกอบสร้างขึ้นมาเป็นสิ่งประดิษฐิ์ของยุคสมัย โดยวัฒนธรรมไทยก็เป็นสิ่งที่มีความผสมผสานเจือปนกับวัฒนธรรมอื่นๆ...

พรมแดน ผู้คน รัฐ และชาติ: เส้นบนดินที่ขีดในหัวใจคน

เรื่อง: ชัยพงษ์ สำเนียง ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 1 ความขัดแย้งเรื่องพรมแดนระหว่างไทยกับกัมพูชา นำมาสู่การกลับไปทบทวนว่าเส้นแดนในประวัติศาสตร์ไทยเป็นแบบไหน ผ่านความคิดเรื่องรัฐและชาติ ซึ่งอาจอธิบายได้ว่าการเกิดรัฐในสังคมไทยและอาจเลยไปอุษาคเนย์ มี 2...

เมื่อยักษ์แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้คนสุดท้ายจากไป: ปัญหาประวัติศาสตร์ชาติกระแสหลักที่ไม่เคยมีมนุษย์อยู่ในความทรงจำ

เรื่อง: ณัฏฐวรรธน์ คล้ายสมมุติ ช่วงสายของวันที่ 8 มิถุนายน ค.ศ. 2025 ในเมืองไทยได้รับข่าวการจากไปของยักษ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แอนโทนี รีด (Anthony...

Ma Tam Maps: ‘ว้า’ ในโซเมีย ดินแดนไร้รัฐกับพันธมิตรจีน 

เรื่อง: สมหมาย ควายธนู ‘ว้า’ ที่เขียนถึงในที่นี้เกี่ยวข้องกับคนบนพื้นที่สูง หรือที่รู้จักกันว่า ‘ละว้า’ และ ‘ลัวะ’ ซึ่งพูดภาษาตระกูลมอญ-เขมร อาศัยอยู่ในบริเวณหุบเขาทอดยาวสลับซับซ้อนกับที่ราบในลุ่มแม่น้ำสาละวินตอนบนและแม่น้ำโขง เป็นส่วนหนึ่งในบริเวณที่สูงซึ่งนักวิชาการเรียกกันว่า...