หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
Lanner
พื้นที่สื่อสาร สังคมประชาธิปไตย ชีวิตใหม่ที่ดีกว่า
หน้าแรก
ข่าว
บทความ
เจาะประเด็น
ชุดข้อมูล
สัมภาษณ์
ประวัติศาสตร์&คนล้านนา
กาดหมั้ว
วิดีโอ
ติดต่อเรา
Search
คำสำคัญ:
ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา
คนล้านนา
ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: ว่าด้วยสถานการณ์ “น้ำท่วมแม่สาย” จุดเปลี่ยนทางประวัติศาสตร์ของร่องน้ำและลำน้ำแม่สายในฐานะเส้นเขตแดน
เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง ปริมาณสะสมของน้ำฝนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศที่มีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เดือนกรกฎาคมผสานกับอิทธิพลของพายุยางิในทะเลจีนใต้ที่แผ่เข้ามากคลุมในพื้นที่ดังกล่าวส่งผลให้พื้นที่ตามภูเขามีการสะสมปริมาณน้ำเรื่อยมา จนกระทั่งช่วงหลังต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมาล่าสุดนี้ได้มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องเหนือพื้นที่ต้นน้ำของแม่น้ำแม่สายในเขตประเทศเมียนมาซึ่งพื้นที่ป่าต้นน้ำของแม่น้ำสายดังกล่าวนั้นเกิดจากบริเวณสันเขาอีกด้านหนึ่งของดอยนางนอนและดอยตุงซึ่งอยู่ในเขตประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งภูเขาอีกฟากฝั่งหนึ่งของแม่น้ำในเขตประเทศเพื่อนบ้านเช่นกันซึ่งพื้นที่ป่าในบริเวณดังกล่าวนี้ได้ถูกแผ้วถางทำลายกลายเป็นทั้งพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่สำหรับอยู่อาศัยที่ก่อตัวขึ้นมาเป็นชุมชนขนาดย่อมเมื่อไม่นานมานี้ ตลอดจนกลายเป็นพื้นที่ปศุสัตว์และเกษตรอุตสาหกรรมสำคัญของนายทุนอย่างไร่ข้าวโพด สิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนี้ชี้ให้เห็นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์จากที่ดิน...
highlight
ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: เศรษฐกิจในสังคมล้านนาจากสนธิสัญญาเชียงใหม่ถึงการเดินทางมาของรถไฟและก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2
ล้านนาเป็นดินแดนที่ถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสยาม แต่เดิมมีสถานะเป็นหัวเมืองประเทศราชมาตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์และถูกรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางในสมัยรัชกาลที่ 5 เพื่อทำการปฏิรูปด้านการเมืองการปกครองโดยเรียกอาณาบริเวณดินแดนล้านนาว่าเป็น “มณฑลพายัพ” ซึ่งมีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของพระราชอาณาเขตที่ตั้งอยู่ทางด้านเหนือสุดของของราชอาณาจักรสยามโดยมีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเพื่อนบ้านของสยามซึ่งมีสถานะเป็นรัฐอาณานิคมในกำกับของมหาอำนาจชาติตะวันตกในขณะนั้นได้แก่ พม่าในฐานะส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินเดียที่อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ มลายูที่เป็นดินแดนอาณานิคมซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษและลาวพืชเป็นดินแดนอาณานิคมซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้...
คนล้านนา
ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา : ว่าด้วยเรื่องราวจาก “เจ้าพระยา” สู่ “พิงคนที” จากนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณีของ “สุนทรภู่” สู่คร่าวซอเรื่องพระอภัยมณีของ “พระยาพรหมโวหาร”
เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี นอกจากจะเป็นวันต่อต้านยาเสพติดแล้ววันดังกล่าวนี้ยังตรงกับ “วันสุนทรภู่” อันเป็นวันที่มักจะอยู่ในความทรงจำของใครหลาย...
คนล้านนา
ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: เจ้าและไพร่ในล้านนา ณ ช่วงเวลาการปฏิรูปมณฑลพายัพถึงก่อน พ.ศ.2475
สังคมล้านนาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น มีโครงสร้างทางสังคมเป็นลำดับชั้นบนลงล่างเฉกเช่นเดียวกันกับสังคมศักดินาทั่วไปที่มีเจ้าผู้ครองนคร เจ้านาย ขุนนาง ไพร่ ทาสและพระสงฆ์เป็นองค์ประกอบสำคัญ ซึ่งผู้คนในลำดับชั้นต่าง ๆ ที่ว่ามานี้ล้วนต่างมีความสัมพันธ์ตามบทบาทและหน้าที่ตามแต่ละส่วนของสังคมที่พวกเขาอยู่อาศัย...
คนล้านนา
โหมโรงล้านนา ว่าด้วยเรื่อง “ล้านนา (Lan Na)” บนพื้นที่ สื่อสารออนไลน์เพื่อการก้าวต่อไป ของเว็บไซต์ Lanner
“ล้านนา” (Lan Na) เป็นชื่อเรียกหน่วยทางการเมืองในยุครัฐจารีตที่อาจมองได้ว่าเป็นหน่วยทางการเมืองวัฒนธรรมซึ่งถูกสืบส่งต่อมาจนถึงยุคปัจจุบันด้วยก็ได้ ตลอดจนเป็นดินแดนของกลุ่มก้อนความสัมพันธ์ที่ผู้คนอาศัยและมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันและกันในอาณาบริเวณแถบลุ่มแม่น้ำโขงทางตะวันออกมาจนถึงแถบลุ่มแม่น้ำคง (สาละวิน) ทางตะวันตก ตลอดจนแถบตอนใต้ของประเทศจีนหรือสิบสองปันนาทางด้านเหนือเรื่อยลงมา ทางด้านทิศใต้แถบหัวเมืองสุโขทัยที่เป็นอาณาบริเวณของภาคเหนือตอนล่างและภาคกลางตอนบนของประเทศไทยในปัจจุบัน...