พฤษภาคม 8, 2024

    นักศึกษาพม่า-ไทยจัดรณรงค์ต้านโทษประหาร 7 นักศึกษา

    Share

    6 ธันวาคม 2565


    กลุ่มนักศึกษาพม่า-ไทย จัดงานรณรงค์ต่อต้านการตัดสินโทษประหารชีวิตนักศึกษา ณ อนุสาวรีย์สามกษัตริย์ เชียงใหม่ ในเวลา 16.30 – 17.30 น.



    เนื่องจากคณะรัฐประหารพม่าได้ตัดสินโทษประหารชีวิตนักโทษทางการเมืองในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 ที่ผ่านมา ซึ่งทั้งหมดเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยดะโก่งจำนวน 7 คน ได้แก่ โกคั่นเซนวิน , โกตูระม่องม่อง , โกซอเลนไน , โกตีฮะแทะซอ , โกเฮงแทะ , โกแตะไป่อู และโกเลนคั่นม่องม่อง ได้ถูกตัดสินประหารชีวิตหลังจากการทำกิจกรรมรณรงค์เพื่อประชาธิปไตยแสดงความเป็นหนึ่งเดียวในการต่อต้านเผด็จการในพม่า งานนี้จึงถูกจัดขึ้นเพื่อแสดงจุดยืนและไม่เห็นด้วยกับความอยุติธรรม พร้อมทั้งเรียกร้องให้มีการยุติความรุนแรงซึ่งขัดกับหลักสิทธิมนุษยชนและขอให้ปล่อยตัวนักศึกษาทั้ง 7 คน



    ภายในงานมีการแสดง Performance Art เป็นนักศึกษาพม่า 7 คนที่ออกมาต่อต้านการรัฐประหาร โดยนักศึกษาพม่า-ไทย และมีการอ่านข้อแถลงการณ์ข้อเรียกร้องกรณีตัดสินโทษประหารชีวิต 7 นักศึกษา เนื้อหาว่า 



    “เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2565 กลุ่มก่อการร้ายรัฐประหารเมียนมาร์ ได้ตัดสินประหารชีวิต นักศึกษามหาวิทยาลัยดะโก่ง รวม 7 คน ได้แก่ โกคั่นเซนวิน , โกตูระม่องม่อง , โกซอเลนไน , โกตีฮะแทะซอ , โกเฮงแทะ , โกแตะไป่อู และโกเลนคั่นม่องม่อง 

    การตัดสินโทษประหารชีวิตในกระบวนการยุติธรรมนั้น ไม่สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชนสากล ประเทศต่าง ๆ ยังมีกฎเกณฑ์ และข้อจำกัดมากมายเกี่ยวกับการต้องโทษประหาร ในขณะที่การตัดสินประหารชีวิตในเมียนมาร์ได้เกิดขึ้นแล้วมากกว่า 140 คดี และในจำนวนนี้มีบุคคลสำคัญทางการเมืองและนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกแขวนคออย่างโหดเหี้ยมไปแล้ว 4 คน



    ขณะนี้มีนักศึกษามหาวิทยาลัยดะโก่ง 7 คน ซึ่งถูกตัดสินประหารชีวิต เนื่องจากพวกเขาทำกิจกรรมรณรงค์เพื่อประชาธิปไตย แสดงความเป็นหนึ่งเดียวในการต่อต้านเผด็จการในเมียนมาร์ ทำให้ถูกตัดสินประหารชีวิต พวกเราจึงขอแสดงจุดยืน ไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการรัฐประหารในเมียนม่าร์ การมีอยู่ของรัฐบาลทหารที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง และการที่เยาวชน นักศึกษา ถูกตัดสินประหารชีวิต ซึ่งถือเป็นการทำลายอนาคตของชาวเมียนมาร์

    ดังนั้น พวกเราเยาวชนนักศึกษาไทย-เมียนมาร์ ขอเรียกร้องให้ยุติความรุนแรงและการกดขี่ชาวเมียนมาร์ในนามของโทษประหารชีวิต หยุดดำเนินการใช้ความรุนแรง และปล่อยเพื่อนของเรา



    Mingalar Par !

    I am going to read the statement which is dedicated for those  who have been sentenced to be executed for their beliefs, including 7 university students.

    Since 30 November 2022 , the brutal military junta  sentenced to death to 7 students from Dagon University, They are Ko Khant Zin Win, Ko Thura Maung Maung, Ko Zaw Lin Naing, Ko Thiha Htet Zaw, Ko Hein Htet, Ko Thet Paing Oo and Ko Khant Lin Maung Maung.

    These execution and death penalty  do not meet  any human rights standards/models  and the reputable international governments ban on the death penalty.

    However, the military regime’s arbitrary death sentence on educated university students, who are the future Myanmar, is only a brutal fascist manifestation of the military regime’s plan to retaliate against the democracy activists  who oppose them until they are completely destroyed.

    There are more than 140 people who have been sentenced to death in Myanmar, and among them 4 prominent activists have been brutally hanged.  We stand with the democracy activists including 7 students who were sentenced to death for taking part in democracy movements. We hereby express our opinion that we strongly condemn the execution and sentences to death.

    Especially, with unfair justice system and unelected government imposed the death penalty on such young educated students is a threat to all Burmese people with violence , as well as an attempt to kill and destroy the future of Myanmar.

    Therefore, we, the young Thai- Myanmar students, seriously request to stop the violence and oppression of the Burmese people in the name of death penalty.

    မင်္ဂလာပါ။ အခု ကျနော်/ ကျမ ဖတ်ကြားမှာကတော့ မြန်မာပြည်တွင်းမှာ သေဒါဏ်ချမှတ်ခံထားရတဲ့ တက္ကသိုလ်ကျောင်းသား ၇ဦးအပါအဝင် ယုံကြည်ချက်ကြောင့် သေဒါဏ်ချမှတ်ခံနေရသူများအတွက် ကျနော်/ ကျမတို့ရဲ့ ဆန္ဒသဘောထားဖော်ထုတ် တင်ပြမှုပဲဖြစ်ပါတယ်။

    အာဏာသိမ်းအကြမ်းဖက် စစ်အုပ်စုက ၂၀၂၂ ခုနှစ် နိုဝင်ဘာလ ၃၀ရက်နေ့မှာ ဒဂုံတက္ကသိုလ်ကျောင်းသား ၇ ဦးဖြစ်တဲ့ ကိုခန့်ဇင်ဝင်း၊ ကိုသူရမောင်မောင်၊ ကိုဇော်လင်းနိုင်၊ ကိုသီဟထက်ဇော်၊ ကိုဟိန်းထက်၊ ကိုသက်ပိုင်ဦးနှင့် ကိုခန့်လင်းမောင်မောင် တို့ကို သေဒဏ်ချမှတ်ခဲ့ပါတယ်။သေဒဏ်ချမှတ်တာ၊ စီရင်တာတွေဟာ လူ့အခွင့်ရေးစံနှုန်းနဲ့ ဘယ်လိုမှ မကိုက်ညီသလို ဂုဏ်သိက္ခာရှိသော နိုင်ငံတကာ အစိုးရတွေအားလုံးလိုလိုကလည်း သေဒဏ်နဲ့ပတ်သတ်ပြီး တားမြစ်ကန့်သတ်ထားကြတာဖြစ်ပါတယ်။ ဒီလိုတွေရှိပါလျက်နဲ့ မြန်မာပြည်ရဲ့ အနာဂတ်ဖြစ်တဲ့ ပညာတတ် တက္ကသိုလ်ကျောင်းသားလေးတွေကို စစ်အုပ်စုက အဓမ္မသေဒဏ် ချမှတ်နေတာဟာ သူတို့ကိုဆန့်ကျင်တဲ့ ဒီမိုကရေစီအရေးလှုပ်ရှားသူတွေကို အလုံးစုံပျက်သုဉ်းတဲ့အထိ လက်စားချေမယ်ဆိုတဲ့ စစ်အုပ်စုရဲ့ ယုတ်မာရိုင်းစိုင်းတဲ့ ဖက်ဆစ် သရုပ်သာ လျှင်ဖြစ်ပါတယ်။ မြန်မာနိုင်ငံမှာ သေဒဏ်ချမှတ်ခံထားရသူ ၁၄၀ ကျော်ရှိနေပြီး ယင်းတို့အနက်မှ ထင်ရှားသူ (၄) ဦးကို ရက်စက်စွာကြိုးစင်တင်ကွပ်မျက်ခဲ့ပြီးဖြစ်ပါတယ်။ ဒဂုံတက္ကသိုလ်ကျောင်းသား ၇ဦးအပါအဝင် ဒီမိုကရေစီအရေးအတွက်လှုပ်ရှားရင်း သေဒဏ်ချမှတ်ခံရတဲ့ ကျောင်းသားပြည်သူများနဲ့အတူ တသားတည်း ရပ်တည်ရင်း စစ်ကောင်စီရဲ့ အဓမ္မသေဒဏ်ချမှတ်နေမှု၊ စီရင်နေမှုတွေကို ပြင်းပြင်းထန်ထန် ရှုတ်ချပါကြောင်း ကျနော်/ ကျမတို့ ဒီနေရာကနေ ဆန္ဒသဘောထားဖော်ထုတ် တင်ပြအပ်ပါတယ်။ အထူးသဖြင့်တော့ မျှတသော တရားစီရင်ရေးလည်းမဟုတ်၊ ရွေးကောက်ခံ အစိုးရလည်းမဟုတ်တဲ့ မြန်မာပြည်အာဏာသိမ်းစစ်အုပ်စုက အခုလို လူငယ်ပညာတတ်လေးတွေကို သေဒါဏ်အပြစ်ဒါဏ်ကြီး အလွယ်တကူ ချမှတ်လိုက်ခြင်းဟာ မြန်မာပြည်သူအားလုံးကို အကြမ်းဖက်မှုနဲ့ ခြိမ်းခြောက်လိုက်ခြင်း ဖြစ်သလို မြန်မာ့အနာဂတ်ကို သတ်ဖြတ်အညွှန့်ချိုးဖို့ အားထုတ်ခြင်းလည်းဖြစ်ပါတယ်။

    ဒါ့ကြောင့် အခုလို သေဒါဏ်နာမည်တပ်ကာ မြန်မာပြည်သူကို အကြမ်းဖက် ဖိနှိပ်ရက်စက်နေခြင်းအား ရပ်တန်းကရပ်ဖို့ ကျနော်/ ကျမ တို့ ထိုင်းမြန်မာ ကျောင်းသားလူငယ်များမှ လေးနက်စွာ တောင်းဆိုအပ်ပါတယ်။”



    หลังจากนั้นได้มีการอ่านบทกวีเป็นภาษาพม่าของ อู มินโกไหน่ โดยนักกิจกรรมพม่า 



    สุดท้ายมีการร้องเพลง WE ARE FRIENDS หรือเพลงเราคือเพื่อนกัน เวอร์ชั่นภาษาพม่า และยืนสงบนิ่งเป็นเวลา 1 นาทีแก่นักศึกษาทั้ง 7 คนร่วมกัน



    มีผู้ให้ความสนใจเป็นจำนวนมากทั้งประชาชน นักศึกษา ทั้งชาวไทยและชาวพม่าที่อาศัยอยู่ในเชียงใหม่ เพราะเป็นเรื่องที่ต้องจับตามอง

    Related

    ไม่ได้ร้องขอ หากแต่มาเพื่อบอกกล่าว ‘บุญร่มไทร’ คนจนเมืองริมทางรถไฟ ความเจริญที่ข้ามผ่านคนริมขอบ   

    เรื่อง : ปภาวิน พุทธวรรณะ ช่วงสายของวันธรรมดาทั่วไปในปลายเดือนกุมภาพันธ์ ทุกอย่างดำเนินไปตามครรลองอย่างที่มันควรจะเป็น รถไฟขบวนมหาชน หมายที่ 371 ได้ชะลอความเร็วเพื่อหยุดรับผู้คนเดินทางกลับบ้านสู่ภาคตะวันออก...

    ร้อยเรียงเรื่องเชียงแสน พลวัตการพลัดถิ่นฐานของผู้คนบนสายธารประวัติศาสตร์ สงครามและสนามรบ

    เรื่อง : นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง “เชียงแสน” เป็นชื่อบ้านนามเมืองแห่งหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำโขง ปัจจุบันเป็นที่รับรู้กันในหมู่ผู้คนทั่วไปว่าคือชื่อของอำเภอชายแดนแห่งหนึ่งในจังหวัดเชียงรายซึ่งมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน คือ สปป....

    ก้าวไปข้างหน้า กับความไม่แน่นอนของปัญหาไฟป่า-หมอกควันจังหวัดเชียงใหม่

    เรื่อง : ชยา วรรธนะภูติ ไฟ ฝุ่นและมลพิษใน “อุตสาหกรรมนิยมยุคปลาย” นับตั้งแต่เมื่อสองร้อยกว่าปีที่แล้ว ด้วยอิทธิพลของการล่าอาณานิคม การปฏิวัติอุตสาหกรรม และการปฏิวัติการเกษตรในทวีปต่างๆ...