คนล้านนา

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: เศรษฐกิจในสังคมล้านนาจากสนธิสัญญาเชียงใหม่ถึงการเดินทางมาของรถไฟและก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2

ล้านนาเป็นดินแดนที่ถูกผนวกรวมเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชอาณาจักรสยาม แต่เดิมมีสถานะเป็นหัวเมืองประเทศราชมาตั้งแต่ยุคต้นกรุงรัตนโกสินทร์และถูกรวบอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางในสมัยรัชกาลที่ 5 เพื่อทำการปฏิรูปด้านการเมืองการปกครองโดยเรียกอาณาบริเวณดินแดนล้านนาว่าเป็น “มณฑลพายัพ” ซึ่งมีฐานะเป็นส่วนหนึ่งของพระราชอาณาเขตที่ตั้งอยู่ทางด้านเหนือสุดของของราชอาณาจักรสยามโดยมีอาณาเขตติดต่อกับรัฐเพื่อนบ้านของสยามซึ่งมีสถานะเป็นรัฐอาณานิคมในกำกับของมหาอำนาจชาติตะวันตกในขณะนั้นได้แก่ พม่าในฐานะส่วนหนึ่งของอาณานิคมอินเดียที่อยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษ มลายูที่เป็นดินแดนอาณานิคมซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศอังกฤษและลาวพืชเป็นดินแดนอาณานิคมซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของประเทศฝรั่งเศส ทั้งนี้ ลักษณะภูมิประเทศของดินแดนล้านนาส่วนใหญ่เป็นพื้นที่สูงประกอบด้วยเทือกเขาและพื้นที่ว่างระหว่างหุบเขาซึ่งมีแม่น้ำไหลผ่านหลายสาย โดยเทือกเขาที่มีขนาดใหญ่ซึ่งอยู่ตอนกลางของภูมิภาคได้วางแนวสันปันน้ำแบ่งทิศทางการไหลของแม่น้ำในพื้นที่ออกเป็น...

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา : ว่าด้วยเรื่องราวจาก “เจ้าพระยา” สู่ “พิงคนที” จากนิทานคำกลอนเรื่องพระอภัยมณีของ “สุนทรภู่” สู่คร่าวซอเรื่องพระอภัยมณีของ “พระยาพรหมโวหาร”

เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง วันที่ 26 มิถุนายนของทุกปี นอกจากจะเป็นวันต่อต้านยาเสพติดแล้ววันดังกล่าวนี้ยังตรงกับ “วันสุนทรภู่” อันเป็นวันที่มักจะอยู่ในความทรงจำของใครหลาย ๆ คนหากเมื่อย้อนกลับไปหวนถึงชีวิตช่วงวัยเรียน...

ขยายภาพ ‘2475’ นอกพระนคร ส่องเลือกตั้งผู้แทนราษฎร ‘2476’ ระหว่างเจ้านายและข้าราชการในล้านนา

เรื่อง: ปวีณา หมู่อุบล ในวันที่ 24 มิถุนายนของทุกปี บนหน้าสื่อโซเชียลมีเดียของประชาชนภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขอย่างเรา ๆ ก็คงจะมีบทความประวัติศาตร์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ขนาดสั้นบ้างยาวบ้างแสดงขึ้นมาให้ได้อ่านกันไม่มากก็น้อย  แต่บทความเหล่านั้นโดยส่วนมากก็คงจะเป็นลำดับเหตุการณ์ในวันที่ 24...

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: สามัญชนคนเมืองล้านนาอย่าง “ย่าบุญ” ตะแหลวเมืองล้านนาบนหน้าปัดวิทยุในความทรงจำ

“…..ปุ๋นดีงืดล้ำ อึ่งขบงูต๋าย บ้านเมืองวุ่นวาย ป้อจายนุ่งซิ่น ปู๊เมียผีต๋าย ซ้ำมาเยี๊ยะปลิ้น แป๋งปามาน ใส่ต๊อง ปล๋าแห้งในไฟ    จักไปอยู่ต๊อม ตั้งเหยี่ยนส้อม บนดอย นกแอ่นฟ้า ...

ประติมากรรมยักษ์วัดอุโมงค์ กับคำถาม “อำนาจ” ใน “หลักวิชาการอนุรักษ์” ที่ยังฉงนคำตอบ ?

“ยืนยันว่าการบูรณะเป็นไปตามหลักวิชาการ” คำตอบเช่นนี้ได้ยินเสมอจากหน่วยงานราชการที่มีหน้าที่ดูแลแหล่งมรดกวัฒนธรรม ปรากฏการณ์สำคัญในวงการศิลปวัฒนธรรมเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในดินแดนเชียงใหม่ เมื่อเกิดกรณีการบูรณะประติมากรรมยักษ์จำนวน 2 ตนภายในวัดอุโมงค์ ตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและสถานที่ท่องเที่ยวที่ทุกคนต่างรู้จักกันอย่างดี เหตุการณ์ดังกล่าวมีจุดเริ่มต้นจากเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2567 ผศ.ดร....
spot_img

Popular

เชียงใหม่ไม่ได้ปราบแค่เซียน แต่ปราบทุกคน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน เชียงใหม่เป็นเมืองแบบไหนสำหรับคุณ? สำหรับหลายคนแล้ว จังหวัดเชียงใหม่ถือเป็นจุดหมายปลายทางในฝัน เป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยวที่มีมนต์เสน่ห์แห่งล้านนา อันเต็มเปี่ยมไปด้วยความงดงามทางด้านศิลปวัฒนธรรม สถาปัตยกรรมเก่าแก่ตามวัดวาอารามต่าง ๆ และสถานที่ท่องเที่ยวที่ธรรมชาติสร้างสรรค์ขึ้นมา หากมองเผิน...

“นิสิต จิรโสภณ” อดีตผู้นำนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผู้ตั้งคำถามท้าทายความจริง ก่อนการมาถึงของเหตุการณ์ นองเลือด 6 ตุลาคม 2519​

9 มิถุนายน ถือเป็นวันคล้ายวันเกิดของ ‘นิสิต จิรโสภณ’ 1 ในประชาชนที่ต่อสู้เพื่อความจริงและมวลชนอย่างกล้าหาญในยุคแสวงหา เป็นสื่อมวลชนที่กล้าตั้งคำถาม ขับเคลื่อนสังคมในยุคเผด็จการ...

เชียงใหม่เมืองไม่มีอนาคต

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เรียนจบแล้ว จะไปทำงานที่ไหน” “อยากทำงานอยู่เชียงใหม่ แต่คงอยู่ไม่ได้…” บทสนทนาของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ดังขึ้นข้างหู ทำให้ฉันตั้งคำถามขึ้นมาว่าทำไมมหาวิทยาลัยที่ผลิตนักศึกษาบัณฑิตเข้าสู่ตลาดแรงงานปีละหลายหมื่นคน แต่ผู้จบการศึกษาจำนวนมากถึงเลือกที่จะไม่อยู่ทำงานในจังหวัดเชียงใหม่...

ล่ามช้างซาวด์ The 𝑺𝒐𝒖𝒏𝒅 𝒐𝒇 𝑳𝒂𝒎𝒄𝒉𝒂𝒏𝒈 โปรเจ็คพื้นที่สาธารณะที่ข้องเกี่ยว “เสียงตามสาย” ของคนในชุมชน ที่เสียงอาจดังไกลกว่าล่ามช้าง

น่ายินดีไม่น้อยที่เราได้เห็นการโคจรมาพบกันระหว่างคนทำงานสร้างสรรค์กับชุมชนที่มาชนกันจนเกิดโปรเจ็คพื้นที่สร้างสรรค์สาธารณะสนุก ๆ ในชื่อ ล่ามช้างซีเล็คชั่น นิทรรศการโดยชุมชน 𝗟𝗔𝗠𝗖𝗛𝗔𝗡𝗚 𝗦𝗘𝗟𝗘𝗖𝗧𝗜𝗢𝗡 𝗔𝗡𝗗 𝗘𝗫𝗛𝗜𝗕𝗜𝗧𝗜𝗢𝗡...