ปรัชญา ไชยแก้ว

กองบรรณาธิการ Lanner เกิดและโตที่เชียงใหม่ มีความฝันบ้า ๆ ว่าอยากเป็นชาวประมง สอดส่องชีวิตผู้คนด้วยเลนส์ 576 ล้านพิกเซล และกลั่นกรองออกมาเป็นงานเขียน พบเจอได้ตามกิจกรรมทางการเมือง ที่ ลานท่าแพ
55 POSTS

หลายชีวิตยังคงเคลื่อนไหว สงกรานต์ของเราไม่เหมือนกัน

เรื่องและภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว ในช่วงเทศกาลปี๋ใหม่เมืองที่หลายคนเตรียมตัวเตรียมใจไปเปียกในเทศกาลสงกรานต์ บวกกับการกินเลี้ยงที่สุดเหวียงในช่วงวันหยุดยาว ยังมีอีกหลายชีวิตที่เดินทางด้วยเหตุผลต่างกัน บ้างกลับบ้าน บ้างไปทำงาน บางคนเริ่มต้นใหม่ ขณะที่บางคนยังคงต้องอยู่กับหน้าที่ Lanner...

Lanner Joy “ล้านนาในฝ่ามือ” ปลื้ม-อิทธิพัทธ์ รักวงศ์วริศ กับการปั้นชีวิตและวัฒนธรรมจนเป็น Art Toy

เรื่องและภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว ในยุคที่ศิลปะร่วมสมัยเติบโตควบคู่ไปกับวัฒนธรรมท้องถิ่น Art Toy กลายเป็นพื้นที่ใหม่ของศิลปินรุ่นใหม่ในการเล่าเรื่องรากเหง้าของตนเองผ่านรูปแบบที่ร่วมสมัย หนึ่งในนั้นคือ ปลื้ม-อิทธิพัทธ์ รักวงศ์วริศ...

“คนควรเป็นคนเท่ากัน” เสียงสะท้อนในไร่หมุนเวียน อคติใครกำหนด

เรื่องและภาพ : ปรัชญา ไชยแก้ว “เราโดนมาตลอด บอกว่าคนปกาเกอะญอ บุกรุกป่า เผาป่า ทั้งที่เราอยู่กับป่ารักษาป่าทำแนวกันไฟทุกปี แต่ก็ยังโดนว่า...

วิเคราะห์สนามท้องถิ่นหลังเลือกตั้ง อบจ. 68 เกมจบ คนไม่จบ

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว ภาพ: วีรภัทร เหลาเกิ้มหุ่ง หลังจากการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมาทั้งหมด 47...

มองเลือกตั้งนายก อบจ. 68 ภาคเหนือจากข้อมูล ใครเป็นใคร พรรคไหนส่ง งัดกันด้วยนโยบายแบบใด

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว ภาพ: วีรภัทร เหลาเกิ้มหุ่ง หมุดหมายสำคัญของการเมืองท้องถิ่นที่จะเกิดในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ที่จะถึงนี้...
spot_img

Popular

เหลียวหลัง แลหน้า: ขบวนการ ‘คนอยู่กับป่า’ เมื่อการปักหมุดประชาธิปไตย เริ่มจากชายขอบ

เรื่อง : ศรีนิธิรินทร์ ชื่นวณิช ภาพ : ปรัชญา  ไชยแก้ว อาจเป็นถ้อยคำที่สรุปบทเรียนสำคัญของคนตัวเล็กตัวน้อยในพื้นที่ชายขอบ ที่ไม่ได้ต่อสู้เพื่อแค่สิทธิในที่ดินทำกิน หากแต่หมายถึงการปักหมุดประชาธิปไตยจากฐานรากของสังคมไทย...

กองทัพเมียนมาเดินหน้าถล่มพื้นที่ฝ่ายต่อต้านในรัฐฉาน เสียชีวิต 8 เจ็บ 29 อาคารเสียหายกว่า 50 จุด

2 กรกฎาคม 2568 มูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนไทใหญ่ (Shan Human Rights Foundation) รายงานว่า...

ขบวนการของประชาชนกับปัญหาการพิสูจน์สิทธิคนอยู่กับป่า ท่ามกลางความท้าทายของเสรีนิยมใหม่

เรื่อง : ศรีนิธิรินทร์ ชื่นวณิช ภาพ : ปรัชญา  ไชยแก้ว ในเวที 27 ปีเงื่อนไขการพิสูจน์สิทธิคนอยู่กับป่า...

It’s not my revolution: เมื่อวรรณกรรม ‘แซะพาวเวอร์’ สะกดประวัติศาสตร์

เรื่องและภาพ: กองบรรณาธิการ ความเข้าใจการปฏิวัติ 2475 ไม่ใช่เพียงแค่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ และสังคมเท่านั้น ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นต้องพิจารณาในแง่พลังทางภูมิปัญญาด้วย สิ่งที่เป็นตัวแทนทางภูมิปัญญาที่ชัดเจนที่สุดก็คือ...

ซะป๊ะเพศ เฉดสีล้านนา: สำรวจร่องรอยและตัวตน ‘ปู๊เมีย’ ในประวัติศาสตร์ล้านนา

เรื่อง: ปวีณา หมู่อุบล ในภาษาพูดของคนล้านนา มีคำศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ ในแบบที่สมัยปัจจุบันเรียกว่า ‘กะเทย’ หรือ ‘เกย์’ นั่นคือคำว่า...