ปรัชญา ไชยแก้ว

20 โพสต์

เจาะเวลาหา ‘ผู้ว่า CEO’ ก่อนกลับมาในรัฐบาลเศรษฐา จะได้ไหมกระจายอำนาจ?

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว “ผู้ว่า CEO” คือนโยบายที่รัฐบาลเศรษฐา แถลงต่อรัฐสภาส่วนหนึ่งของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่นที่ปรับเปลี่ยนให้ผู้ว่าราชการจังหวัดให้เป็นแบบ CEO ซึ่งจากการสืบค้นระบุว่า นโยบายนี้จะสร้างประสิทธิภาพในการบริหารงานในแต่ละจังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น...

ฟ้าผ่าแถลงการณ์ไม่เห็นด้วยกับส.ว. มหา’ลัยย่านห้วยแก้ว ย้อนถามเสรีภาพนักศึกษาอยู่ตรงไหน

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว จากเหตุการณ์วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 ที่ผ่านมา มีการประชุมรัฐสภาซึ่งในที่ประชุมมีการเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30...

“ประกาศชุมนุม ขยุ้มหัวใจ” นักศึกษาจะไปไหนถ้าจะจัดม็อบ

เรียบเรียง: ปรัชญา ไชยแก้ว 12 กรกฎาคม 2566 กลุ่ม SAAP 24:7 จัดกิจกรรมเวทีเสวนา...

มหา’ลัยไม่ใช่ค่ายกักกัน เมื่อมช.งัดข้อเสรีภาพ ชุมนุมต้องขออนุญาต

เรื่อง: ปรัชญา ไชยแก้ว เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคมที่ผ่านมา เพจสภานักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้เผยประกาศจากทางมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในกรณี การขออนุญาตใช้พื้นที่จัดกิจกรรมการชุมนุมตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ...

Wherever Project คืนสู่เหย้าชาวละคร ที่ไม่ใช่แค่ Reunion แต่จะสร้าง Union ต่างหากเล่า!

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม, ปรัชญา ไชยแก้ว ภาพถ่าย: ปรัชญา ไชยแก้ว ช่วงเรียนมหา’ลัย อาจจะเป็นช่วงเวลา 4...
spot_img

Popular

60 กว่าปีที่รอคอย ขบวนความหวัง รถไฟสายใหม่ เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ คุ้มไหมกับที่หวัง?

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เชียงรายจะมีรถไฟแล้ว” ประโยคขายฝันที่ฉันได้ยินตั้งแต่เด็กจนตอนนี้ใกล้จะเรียนจบมหาวิทยาลัยแล้วก็ยังไม่เคยเห็นรถไฟที่ว่านั้นสักที ด้วยภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ที่ยากลำบากต่อการก่อสร้างและความคุ้มค่าต่อการลงทุน ทำให้เส้นทางรถไฟสายเหนือของไทยสิ้นสุดอยู่เพียงที่ชานชาลาเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน  จากทางรถไฟที่เฝ้ารอมาหลายสิบปี ผู้เฒ่าหลายคนล้มหายตายจากไปทั้งที่ยังไม่ได้เห็นแม้ร่องรอย คำบอกเล่าว่าทางรถไฟจะผ่านบ้านเราแล้ว ประโยคดังกล่าวดูเหมือนจะเป็นจริง...

ไกลศูนย์กลาง: กลับไปอ่าน “แก้วหยดเดียว” ของศรีดาวเรือง: การตั้งคำถามต่อการไม่มีสวัสดิการของแรงงานไทยเมื่อครึ่งศตวรรษที่แล้ว

เรื่อง: ป.ละม้ายสัน เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมามีวันสำคัญของสามัญชนคนธรรมดาที่น้อยนักจะปรากฏได้ในปฏิทิน นั่นคือวันแรงงานสากล หรือเมย์เดย์ (May Day) ผู้เขียนจึงนึกถึงเรื่องสั้นเรื่องหนึ่งที่ได้ถ่ายทอดชีวิตและน้ำเสียงของแรงงานจากวรรณกรรม แม้ว่าวรรณกรรมชิ้นนี้จะเก่าไปสักหน่อย แต่ก็ยังคงนำพาให้ได้เห็นร่องรอยเคล้าลางบางอย่างที่แช่แข็งและไปไม่ถึงไหนจวบจนปัจจุบัน...

“ฝันเราไม่เคยจนตรอก” เชียงใหม่ส่งพลังบอลเกงกิ สมัครเพื่อโหวต สว. เปลี่ยนอนาคตประเทศ

19 พฤษภาคม 2567 เครือข่าย Senate67 จัดกิจกรรม สมัครเพื่อเปลี่ยน: จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ บริเวณประตูท่าแพ...

กลุ่มรักษ์เขากะลากว่า 150 ชีวิต ค้านเวที EIA ครั้งที่ 2 หวั่นกระทบสิ่งแวดล้อมชุมชน

เรื่อง: เมธี กุลฉิม เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2567 เวลา 13.00 น....

“ชาติพันธุ์ก็คือคน” ความฝันกะเบอะดิน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน ภาพ: ธันยชนก อินทะรังษี “เราเชื่อว่าถ้าชุมชนเข้มแข็ง มีความฝันร่วมกันและยืนยันเป็นเสียงเดียวกันว่าไม่เอาเหมือง เขาก็ไม่สามารถทำอะไรได้อยู่แล้วเพราะเขาไม่ใช่เจ้าของพื้นที่ เราโดนพูดอยู่เสมอว่าเราสู้เขาไม่ได้หรอก เขาเป็นคนใหญ่คนโต...