ความคิดเห็น

ชิวๆ กับความไม่แน่นอน: อารมณ์สายมูกับระบอบเวลาที่ยืดหยุ่น

ในยุคสมัยที่การดิ้นรนทำมาหากินเพื่อให้อยู่รอดภายใต้เศรษฐกิจที่ผันผวนและอากาศแบบละติจูดเดียวกับ ‘สวรรค์’ เป็นประสบการณ์สามัญของคนทั่วไป เคยสงสัยไหมว่าทำไมเพื่อน ‘สายมู’ ของเราถึงยังมีเวลาไปกราบไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์และพระดังทั่วไทย สวมชุดขาวร่วมพิธีกกรรมเสริมแต้มบุญ หรือปฏิบัติธรรมอัพลงโซเชียลมีเดีย แบ่งปันความปิติอิ่มบุญให้ได้อนุโมทนากันได้เรื่อยๆ บทความนี้สำรวจความย้อนแย้งดังกล่าว พยายามทำความเข้าใจว่าสังคมแบบเสรีนิยมใหม่ที่ความไม่แน่นอนกลายเป็นทั้งปัญหาที่ผู้คนต้องเผชิญและโอกาสในการสะสมทุนของเหล่าผู้กล้าได้กล้าเสีย...

โทษทีพี่ ‘ติด’ งาน

คุณติดโซเชียลมีเดียหรือไม่ หากคำถามนี้เกิดขึ้นก่อนปี 2009 ซึ่งเป็นปีที่เฟซบุ๊กนำปุ่มกดถูกใจมาใช้งาน คนส่วนใหญ่จะตอบปฏิเสธ หรือไม่ก็บอกว่าตัวเองก็แค่ชอบเล่นโซเชียลมีเดีย แต่ไม่ถึงกับขั้น “เสพติด” เพราะถ้ายังจำกันได้ ในยุคนั้นเราใช้งานสื่อออนไลน์ประเภทนี้เป็นครั้งคราว และต้องเข้าถึงผ่านคอมพิวเตอร์เป็นหลัก เนื่องจากสมาร์ทโฟนยังอยู่ในช่วงตั้งไข่...

ชีวิตบนเส้นด้ายของเกษตรกรหลังบ้านอีอีซี

เกษตรกรหลังบ้านอีอีซีส่วนใหญ่ถูกจำกัดในการเข้าถึงทรัพยากรและอำนาจหลังการปิดล้อมใหม่ โดยเฉพาะการขาดการเข้าถึงที่ดิน ทรัพยากรท้องถิ่น รวมถึงอำนาจในการมีส่วนร่วมกำหนดภูมิทัศน์การพัฒนาในท้องถิ่น ทำให้เกษตรกรมีเงื่อนไขที่จำกัดในการคาดเดาและกำหนดอนาคตของตนเอง จนนำไปสู่การก่อตัวขึ้นของสถานการณ์ความขัดแย้งและความแตกต่างทางสังคม มากกว่าจะเป็นผลลัพธ์ที่นำไปสู่การกระจายผลประโยชน์แก่ทุกฝ่ายอย่างเท่าเทียม โดยที่กระบวนการแยกความแตกต่างทางสังคม  เป็นผลลัพธ์หนึ่งจากพัฒนาการของกระบวนปิดล้อมที่ใหม่ สะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในสองด้าน ได้แก่...

และนี่คือเสียงของ We are the 99% ฟังเสียง 6 แรงงานที่อยากเห็นคุณภาพชีวิตที่ดี

1 พฤษภาคม ของทุกปีคือวันแรงงานสากล (International Workers’ Day) โดยในปีนี้เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ ได้จัดกิจกรรมเดินขบวน เริ่มจากลานอนุสาวรีย์สามกษัตริย์ จนถึงบริเวณลานประตูท่าแพ จังหวัดเชียงใหม่...

ค่าแรงมันร้าย กดขี่ขั้นโหด ถึงเวลา ‘สหภาพแรงงาน’

ถือว่าเป็นปรากฎการณ์ที่ร้อนแรงไม่แพ้อากาศประเทศไทย สืบเนื่องจากเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2567 ในงานเวทีวาระเชียงใหม่ Chiangmai Agenda กับการถกเถียงเรื่อง ‘ค่าแรง’ ระหว่าง...