พินิจ ทองคำ

4 โพสต์

Texas Era In Lampang Province: “ลำปางในยุคเท็กซัส”

เรื่องและภาพ: พินิจ ทองคำ “ยุคเท็กซัสของลำปาง” จุดเริ่มต้นของความสงสัยของผู้มีสถานะเป็นคนนอกที่มาอาศัย ณ​ จังหวัดแห่งนี้ จากการเดินทาง     ...

Lampang city : เมื่ออยู่ในยุคเปลี่ยนผ่าน อนาคตจึงต้องมีการเปลี่ยนแปลง

เรื่อง: พินิจ ทองคำ การสื่อสารผ่านโลกออนไลน์กลายเป็นปัจจัยสำคัญของการเชื่อมต่อภายในสังคม ไม่ว่าจะอยู่ในที่ใดสามารถสื่อสารกันได้อย่างรวดเร็ว มีข้อมูลทางสติถิที่บ่งชี้ว่าคนไทยใช้โซเชียลมีเดียผ่าน Facebook มากเป็นอับดับหนึ่ง มีผู้ใช้ทั้งสิ้น 48.10...

นครลำปางเมืองแห่งความหวังของคนทุกวัย ?

เรื่อง: พินิจ ทองคำ เราทุกคนอยากเห็นเมืองที่เจริญเติบโตเพื่อโอบรับประชาชนทุกคนอย่างเท่าเทียม พื้นที่ของเมืองควรถูกใช้เพื่อรองรับความหลากหลาย นโยบายการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องเป็นไปเพื่อคนในท้องถิ่นทุกคน แต่เมื่อมองกลับมาที่เมืองรองอย่างจังหวัดลำปาง เรามีสิ่งเหล่านี้ครบถ้วนสมบูรณ์แล้วหรือไม่ นี่คือคำถามที่น่าครุ่นคิดกับสิ่งที่เกิดขึ้น หมุดหมายสำคัญที่คนรุ่นใหม่แสวงหาโอกาสในการตั้งตัวท่ามกลางการแข่งขันภายใต้ระบบทุนนิยมอันหนักหน่วง หลายคนมีทางเลือกที่จะต้องจากบ้านเกิดเมืองนอนไปสู่เมืองใหญ่ที่มีโอกาสกับชีวิตมากกว่า...

‘Solar Farm’ โครงการนำร่องพลังงานสะอาด ทางออกหรือทางตันของประชาชนคนแม่เมาะ?

เรื่องและภาพ: พินิจ ทองคำ เมื่อผู้คนกล่าวถึงจังหวัดลำปาง หนึ่งในสิ่งที่นึกถึงจังหวัดแห่งนี้ คือ แม่เมาะ ที่ไม่ได้หมายถึงอำเภอ แต่เป็นโรงไฟฟ้าถ่านหินลิกไนต์ขนาดใหญ่ที่ใช้ชื่อว่า “แม่เมาะ”...
spot_img

Popular

60 กว่าปีที่รอคอย ขบวนความหวัง รถไฟสายใหม่ เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ คุ้มไหมกับที่หวัง?

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน “เชียงรายจะมีรถไฟแล้ว” ประโยคขายฝันที่ฉันได้ยินตั้งแต่เด็กจนตอนนี้ใกล้จะเรียนจบมหาวิทยาลัยแล้วก็ยังไม่เคยเห็นรถไฟที่ว่านั้นสักที ด้วยภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ที่ยากลำบากต่อการก่อสร้างและความคุ้มค่าต่อการลงทุน ทำให้เส้นทางรถไฟสายเหนือของไทยสิ้นสุดอยู่เพียงที่ชานชาลาเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน  จากทางรถไฟที่เฝ้ารอมาหลายสิบปี ผู้เฒ่าหลายคนล้มหายตายจากไปทั้งที่ยังไม่ได้เห็นแม้ร่องรอย คำบอกเล่าว่าทางรถไฟจะผ่านบ้านเราแล้ว ประโยคดังกล่าวดูเหมือนจะเป็นจริง...

ไกลศูนย์กลาง: กลับไปอ่าน “แก้วหยดเดียว” ของศรีดาวเรือง: การตั้งคำถามต่อการไม่มีสวัสดิการของแรงงานไทยเมื่อครึ่งศตวรรษที่แล้ว

เรื่อง: ป.ละม้ายสัน เมื่อต้นเดือนที่ผ่านมามีวันสำคัญของสามัญชนคนธรรมดาที่น้อยนักจะปรากฏได้ในปฏิทิน นั่นคือวันแรงงานสากล หรือเมย์เดย์ (May Day) ผู้เขียนจึงนึกถึงเรื่องสั้นเรื่องหนึ่งที่ได้ถ่ายทอดชีวิตและน้ำเสียงของแรงงานจากวรรณกรรม แม้ว่าวรรณกรรมชิ้นนี้จะเก่าไปสักหน่อย แต่ก็ยังคงนำพาให้ได้เห็นร่องรอยเคล้าลางบางอย่างที่แช่แข็งและไปไม่ถึงไหนจวบจนปัจจุบัน...

“ฝันเราไม่เคยจนตรอก” เชียงใหม่ส่งพลังบอลเกงกิ สมัครเพื่อโหวต สว. เปลี่ยนอนาคตประเทศ

19 พฤษภาคม 2567 เครือข่าย Senate67 จัดกิจกรรม สมัครเพื่อเปลี่ยน: จังหวะนี้มีแต่พี่ที่ทำได้ บริเวณประตูท่าแพ...

กลุ่มรักษ์เขากะลากว่า 150 ชีวิต ค้านเวที EIA ครั้งที่ 2 หวั่นกระทบสิ่งแวดล้อมชุมชน

เรื่อง: เมธี กุลฉิม เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2567 เวลา 13.00 น....

“ชาติพันธุ์ก็คือคน” ความฝันกะเบอะดิน

เรื่อง: นลินี ค้ากำยาน ภาพ: ธันยชนก อินทะรังษี “เราเชื่อว่าถ้าชุมชนเข้มแข็ง มีความฝันร่วมกันและยืนยันเป็นเสียงเดียวกันว่าไม่เอาเหมือง เขาก็ไม่สามารถทำอะไรได้อยู่แล้วเพราะเขาไม่ใช่เจ้าของพื้นที่ เราโดนพูดอยู่เสมอว่าเราสู้เขาไม่ได้หรอก เขาเป็นคนใหญ่คนโต...