ความคิดเห็น

อยู่ระหว่างเหนือล่าง ‘เซ็นทรัลนครสวรรค์’ เมื่อ “ห้างใหญ่มีชื่อ” กลายเป็นมาตรวัดการพัฒนา

ในช่วงต้นเดือนกุมภาพันธ์ 2567 ที่ผ่านมา ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลนครสวรรค์ได้เปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ กระตุ้นให้เกิดความตื่นเต้นและตื่นตัวแกบรรดาผู้คนในจังหวัดนครสวรรค์รวมถึงผู้คนในจังหวัดรอบข้างอย่างมาก ประกอบกับการโปรโมทห้างเซ็นทรัลนครสวรรค์ที่เราจะพบเห็นได้ในโลกออนไลน์ โดยเฉพาะ Tiktok ที่บรรดาผู้มีชื่อเสียงทั้งหลายต่างพาผู้ติดตามของพวกเขาไปสำรวจบรรยากาศของห้างสรรพสินค้าดังกล่าว พร้อมกันนี้ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลนครสวรรค์ยังเจาะจงเปิดทำการก่อนเทศกาลตรุษจีน ซึ่งเป็นเทศกาลที่สร้างชื่อให้กับจังหวัดนครสวรรค์...

ต่า โอะ มู วิถีชีวิตปกาเกอะญอ

เรื่องราววิถีชีวิตกับไร่หมุนเวียน ความเชื่อ วัฒนธรรม ของคนในพื้นที่หมู่บ้านสบลาน ตำบลสะเมิงใต้ อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ผ่านรูปภาพขาวดำ ต้นสะดือ ต้นไม้แห่งชีวิต ต้นสะดือ คือ ต้นไม้ที่มีสะดือของเด็กปกาเกอะญอในวัยแรกเกิดผูกเอาไว้  โดยต้นไม้จะถือเป็นตัวแทนของเด็กคนนั้น ตัดไม้ทำลายชีวิต ชาวปกาเกอะญอเชื่อว่า...

เวียงแก้ว : พระราชวังล้านนา คุกข่มดวงเมือง และมรดกโลกที่ยังมาไม่ถึง

*บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เรื่อง การศึกษาเครือข่ายการประกอบสร้างความรู้ทางโบราณคดีภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่  หลายคนอาจเคยสัญจรผ่านพื้นที่รกร้างขนาดใหญ่กลางเมืองเชียงใหม่ใกล้กับอนุสาวรีย์สามกษัตริย์  ด้านข้างของอำเภอเก่าแล้วนึกสงสัยว่าพื้นที่แห่งนี้คืออะไร เหตุใดยังไม่ถูกจับจองก่อสร้างเพื่อใช้ประโยชน์ สภาพปัจจุบันนั้นรกร้าง ถูกตีปิดด้วยสังกะสีทุกด้าน มองเห็นเพียงอาคารเก่า ๆ...

ไกลศูนย์กลาง: ความอีหลักอีเหลื่อของมโนทัศน์ล้านนาไทยในบทเพลงของ ‘จรัล มโนเพ็ชร’

“เราวิพากษ์คนอื่นโดยหาคู่คัดแย้ง มันง่ายที่จะพูดถึง แต่เราวิพากษ์ตัวเองน้อยเกินไป...” ข้อความข้างบนนี้มาจากปาฐกถาในหัวข้อ “ล้านนาทะลุกรอบอาณานิคม” โดย รองศาสตราจารย์ ดร. วราภรณ์ เรืองศรี ภาควิชาประวัติศาสตร์...

หมุนเวียนมิใช่ทำลาย วิถีชีวิตคนอยู่กับป่า ที่คนเมืองมองว่าทำลาย

รายวิชาการสื่อสารเพื่อเสริมพลังทางสังคม คณะการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในโครงการ ‘การศึกษาไร่หมุนเวียนในแง่มุมด้านวัฒนธรรม การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดอคติเรื่องชาวเขาทำลายป่า‘ “ชาวเขาทำลายป่า” “เวลามีปัญหาอะไร คนอยู่กับป่าอย่างเรา ก็จะเป็นแพะรับบาปตลอด” วาทกรรมชาวเขาทำลายป่าเป็นวาทกรรมที่ถูกผลิตซ้ำมาอย่างยาวนานหลายทศวรรษและกดทับพวกเขาให้ตัวเล็กลงเรื่อย ๆ จนกลุ่มชาติพันธุ์มักถูกวางไว้ในบริบทจำเลยของสังคมว่าเป็นต้นเหตุสำคัญของมลพิษทางอากาศและป่าไม้ที่หายไปในภาคเหนือ วาทกรรมนี้เท็จจริงมากแค่ไหน?...