ความคิดเห็น

แด่ “จรัลล้านนา” ว่าด้วยการประกอบสร้างและผลิตซ้ำอัตลักษณ์ความเป็นล้านนาของศิลปินอย่าง จรัล มโนเพ็ชร

บทความนี้ไม่ได้จัดวางบทบาทและสถานะของ “จรัล มโนเพ็ชร” ว่าเป็นผู้สร้างอัตลักษณ์ความเป็นล้านนาที่ดำรงอยู่อย่างแน่นิ่งตายตัวแต่อย่างใด การนำเสนอของบทความนี้ต้องการที่จะสร้างและสานต่อบทสนทนากับบทความที่ถูกเขียนขึ้นก่อนหน้า ซึ่งได้มีความพยายามในการวิเคราะห์และตรวจตราการสร้างอัตลักษณ์ผ่านบทเพลงของจรัล ผ่าน “มโนทัศน์ล้านนาไทยที่อีหลักอีเหลื่อ” โดยที่ผู้เขียนเองก็ไม่ได้วางอยู่บนการมีเจตจำนงที่จะนำเสนอข้อโต้แย้งต่องานเขียนก่อนหน้า หากแต่ปรารถนานำพาผู้อ่านบทความให้ขยับขยายแง่มุมเพื่อมองให้เห็นฉากหลัง  ...

จากหมอวาโย ถึงอดีตนักโทษชั้น 14 ความเคลือบแคลงที่ถูกสะกดด้วยวาทกรรมการแพทย์ ความจริงที่ไม่เป็นอิสระ

Lanner เปิดพื้นที่ในการขยายพื้นที่สื่อสาร โดยความคิดเห็นไม่จำเป็นต้องเหมือนกองบรรณาธิการ สามารถส่งมาได้ที่ lanner.editor@gmail.com เรื่อง: นาวินธิติ จารุประทัย “นักโทษชั้น 14” คือประเด็นยอดฮิตตั้งแต่ปลายปีที่แล้วจนถึงปัจจุบัน ซึ่งถูกพูดถึงในเชิงประชดประชันกันอย่างกว้างขวางในประเทศไทย ชนิดที่ว่า...

การขยายอำนาจรัฐสยามในอาณาบริเวณล้านนา: กรณีศึกษาการบังคับใช้กฎหมาย การปกครองคณะสงฆ์

ช่วงทศวรรษที่ 2440 นับว่าเป็นช่วงเวลาสำคัญในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสยามกับอาณาบริเวณล้านนา เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าวเป็นหมุดหมายของการทำความเข้าใจการผนวกรวมหรือยึดเอาล้านนาเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของรัฐสยามที่เพิ่งก่อตัวขึ้นมา นัยของการศึกษาความสัมพันธ์ดังกล่าวอาจปรากฏในลักษณะของการศึกษาความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ เครือข่ายความสัมพันธ์ของชนชั้นนำ การศึกษา และการเข้ามาของวิทยาการสมัยใหม่  อย่างไรก็ดี พื้นที่หนึ่งของความสัมพันธ์ระหว่างสยามกับล้านนาที่มีความน่าสนใจในการศึกษา...

เมื่อฟ้าสีเทาหม่นหมดอำไพ คนจน (เมือง) จะอยู่กันอย่างไรในเวียงพิงค์

ในวันที่ 12 มีนาคม 2567 มีรายงานข่าวว่าโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรีออกมายืนยันสถานการณ์ปัญฝุ่น PM2.5 ของจังหวัดเชียงใหม่ โดยระบุว่า “อากาศเชียงใหม่ปีนี้ดีกว่าปีที่แล้ว” ซึ่งเอาเข้าจริง ๆ...

นโยบายความยากจนในไทย กับความทับซ้อนเด็กหลุดระบบทางการศึกษา

การสัมมนาทางวิชาการในหัวข้อ “นโยบายความยากจนในสังคมไทยกับโจทย์ความท้าทายใหม่ ๆ” ภายใต้ปีที่ 2 ของโครงการวิจัย “ความยากจนข้ามรุ่นในสังคมไทยภายใต้ความท้าทายเชิงโครงสร้าง” ภายใต้การสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประเภททุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย (เมธีวิจัยอาวุโส) จากสำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ...