Tag: การศึกษา

นโยบายความยากจนในไทย กับความทับซ้อนเด็กหลุดระบบทางการศึกษา

การสัมมนาทางวิชาการในหัวข้อ “นโยบายความยากจนในสังคมไทยกับโจทย์ความท้าทายใหม่ ๆ” ภายใต้ปีที่ 2 ของโครงการวิจัย “ความยากจนข้ามรุ่นในสังคมไทยภายใต้ความท้าทายเชิงโครงสร้าง” ภายใต้การสนับสนุนทุนอุดหนุนการวิจัยและนวัตกรรม ประเภททุนส่งเสริมกลุ่มวิจัย...

เตรียมพร้อมก่อนเลือกตั้ง’66: 4 ปีครูประยุทธ์ การศึกษาไทยเป็นยังไงบ้าง?

4 เมษายน 2566 "หวังอย่างแรกคือไม่อยากได้เซ็ทเดิมแล้ว เราไม่ได้อยากได้ใครก็ได้มาเป็นรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ" "ตั้งแต่รัฐประหารมา มันมีโครงการสร้างอะไรบางอย่างในโรงเรียนที่มันผิดแปลกไป อย่างเช่นกิจกรรมที่มันต้องส่งเสริมเกี่ยวกับค่านิยม 12 ประการ โครงสร้างเหล่านี้มันตัดโอกาสเด็ก" "การที่ภาคประชาชนหรือภาคพลเมืองในสังคมไทย...

 ‘เมษามาม่วน’ เชียงดาวเมืองแห่งการเรียนรู้

31 มีนาคม 2566 มูลนิธิสื่อชาวบ้าน มะขามป้อม จัดกิจกรรมเปิดเทศกาลเดือนแห่งการเรียนรู้ 'เมษามาม่วน' ณ สนามกีฬาบ้านดง...

LANNER ชวนจับตา “นโยบายการศึกษา” ของแต่ละพรรคการเมืองในการเลือกตั้ง 66

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่านโยบายการศึกษาเป็นเรื่องสำคัญมาก ๆ ที่แต่ละพรรคการเมืองมักจะชูขึ้นมาพูดอยู่ในทุกฤดูเลือกตั้ง ยิ่งไปกว่านั้นการศึกษานับเป็นเรื่องที่สามารถทำให้คุณภาพชีวิตและพื้นฐานชีวิตของทุกคนดีขึ้น ซึ่งจะเป็นรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศต่อไป ทาง LANNER ขอชวนทุกคนไปดูนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาของแต่ละพรรคการเมืองว่าจะมีการแก้ไขหรือพัฒนาการศึกษาอย่างไรกันบ้าง พรรคก้าวไกล ชูเรื่อง “การศึกษาที่ฟรีจริง”...

เสียงครูหายไปไหน? ว่าด้วยเรื่องสิทธิและเสียงของคุณครู

เรื่อง: พีรดนย์ กตัญญู “ครู” อาชีพที่อยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างยาวนาน ถ้าให้ขยายความหมายของครู ครูคือผู้ที่มีหน้าที่ความสามารถในคำแนะนำฝึกสอนให้วิชาความรู้ทางการเรียน หลักการคิดการอ่าน รวมถึงการปฏิบัติให้กับนักเรียน  นักศึกษาในสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน...
spot_img

Popular

ผู้ใช้ถนนรอบคูเมืองร้อง “ยิ่งทำยิ่งพัง สายไฟหรือคนจะลงดินก่อนกัน” เหตุถนนทรุดตัวหน้ารพ.เชียงใหม่ราม ล่าสุดนำแผ่นเหล็กมาปิดแล้ว

25 กรกฎาคม 2567 ที่ผ่านมามีผู้ใช้เฟซบุ๊กรายหนึ่ง โพสต์ข้อความพร้อมรูปภาพผ่านกลุ่ม ‘เชียงใหม่108 CM108’ ระบุว่า “หลุมบริเวณหน้า...

[ชุดข้อมูล] คาดการณ์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยภาคเหนือ กรกฎาคม-ธันวาคม 2567

สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำ (องค์การมหาชน) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สสน.) เปิดเผยผลการวิเคราะห์พื้นที่เสี่ยงอุทกภัยเดือนกรกฎาคม-ธันวาคม ปี 2567...

การต่อสู้ของฝูงนกแห่งน้ำอูน

เสียงรถไถเสียงเครื่องเลื่อยเสียงต้นไม้ล้มราบดินร่ำไห้ปลุกนกแห่งน้ำอูนให้ตื่นรวมฝูงและโผบินสู่สถานตัดสินความเป็นธรรมเพื่อท้วงถามถึงอนาคตแห่งผืนป่าเพื่อยุติการทลายปอดแห่งหมู่บ้าน แต่อำนาจอันเถื่อนถ้ำสอยนกแห่งน้ำอูนตกลงทีละตัวแล้ววิ่งมาเย็บปากด้วยเครื่องจักรทันสมัยซึ่งพวกเขาอ้างว่าจะนำพาความเจริญงอกงามสู่หมู่บ้านแต่ไม่มีนกตัวใดเห็นด้วยไม่มีนกตัวใดยิ้มรื่น แม้บั้นปลายเครื่องพันธนาการจะถูกปลดออกแต่นกแห่งน้ำอูนก็เจ็บปวดเกินกว่าจะกล้ำกลืนลืมเลือนไป ผู้ประพันธ์: อติรุจ ดือเระพิสูจน์อักษร: ฮาฟีซีน นะดารานิง และกูอิลยัส สุดทองคง ชุดบทกวีเพื่อตีแผ่และต่อต้านการฟ้องปิดปาก/การจำกัดเสรีภาพการแสดงออก ซีรีส์-บทกวีถ่ายทอดประสบการณ์-การถูกละเมิดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกจํานวน 1 ชุด...

Top Secret – ลับสุดยอดอย่า(หาญ)บอกใคร

“ความลับของบ้านเมือง”ซุกซ่อนไว้ในหลุมลึกผนึกด้วยอิฐปูนเจ็ดชั้นไม่ให้ใครรู้ ไม่ให้ใครเห็นแต่ลืมไปว่าทุกความลับนั้นมีกลิ่นไม่ไวก็ช้าสักวันจะโชยคลุ้ง คนที่นิยมความโปร่งใสซึ่งมีต่อมสำนึกที่ไวต่อกลิ่นเดินตามหาจนเจอลงเรี่ยวแรงกะเทาะอิฐปูนขุดคุ้ยและพบสิ่งอันผิดปกติที่คนอื่น ๆ ในบ้านเมืองเดียวกันต้องรู้ที่เกี่ยวกับอิสรภาพและเสรีภาพจึงเก็บกวาดออกมาวางกองกลางลานสาธารณะให้คนทุกคนซึ่งมีสิทธิ์รับรู้แต่ต้นมายืนมุงดู ไม่นานนักผู้อ้างว่าพิทักษ์รักษาความสงบก็โผล่มาขับไล่มวลชนจนกระเจิงหนีตบปากนักนิยมความโปร่งใสด้วยกุญแจมือหนึ่งทีแล้วขึ้นเสียงขู่เข็ญให้เขานิ่งเงียบ นักนิยมฯ ขัดขืนถามขึ้นว่า “ฉันผิดอย่างไร”ผู้พิทักษ์ฯ ตอบพลัน“แกทำลายความปลอดภัยของประเทศ”นักนิยมฯ ยังไม่หยุด“ความปลอดภัยแบบใด”ผู้พิทักษ์ฯ เงียบนิ่งเอามือปิดปากนักนิยมฯให้เงียบตาม ผู้ประพันธ์:...

บุหรี่ไฟฟ้ากับวัยรุ่น: วิกฤติใหม่สุขภาวะวัยรุ่นไทย

วิดีโอ: สุทธิพร บุญมา, จิระพัฒน์ ชูกอร์, อภิรดา สุริยา และชมพูนุช แสงสว่าง...