Tag: คนเหนือเดือนตุลา

“ถ้าไม่ไป ก็เสียชาติเกิด” Side Story 50 ปีนักเรียนภาคเหนือกับประชาธิปไตยในเดือนตุลา

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว เรานัด ‘สุทธิศักดิ์ ปวราธิสันต์’ ที่สวนอัญญา เฮือนครูองุ่น...

ลำดับเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516 ในภาคเหนือ

เรียบเรียง: กองบรรณาธิการ ความตื่นตัวทางการเมืองของประชาชนในช่วง 14 ตุลาคม 2516 ไม่ได้จำกัดอยู่แค่กรุงเทพมหานครแต่เพียงเท่านั้น เหตุการณ์ครั้งนี้เป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของการเมืองไทย ที่ประชาชนก้าวออกมาต่อต้านอำนาจของเผด็จการที่ปกครองประเทศเป็นเวลาร่วม 15...

คนเหนือเดือนตุลา: ‘ใบไม้ไหว’ เพลงของ “จรัล มโนเพ็ชร” บาดแผลในความทรงจำในเช้าวันที่ 14 ตุลาคม 2516

เราอาจจะรู้จัก “จรัล มโนเพ็ชร” ในฐานะของศิลปินชาวเชียงใหม่ ผู้ยกระดับให้เพลงภาษาคำเมือง จนพัฒนาแนวเพลงที่เราเรียกกันจนติดปากว่า “โฟล์คซองคำเมือง” ที่ส่งผ่านความทรงจำผ่านเสียงเพลงมาร่วม 4...

คนเหนือเดือนตุลา: จุฬา-จารีตก่อน 14 ตุลา และความรู้สึกอยากกลับบ้านหลัง 6 ตุลาของธเนศวร์ เจริญเมือง

เรื่อง: วัชรพล นาคเกษม ศ.ดร.ธเนศวร์ เจริญเมือง คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เล่าถึงประสบการณ์ส่วนตัวเพื่อทำความเข้าใจที่มาก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม...

คนเหนือเดือนตุลา: ปาหนัน-จีรวรรณ โสดาวัฒน์ ‘มังกรน้อย’ เบ้าหลอมเยาวชน

เรียบเรียง: วัชรพล นาคเกษม ภาพ: ปรัชญา ไชยแก้ว “ช่วงก่อนเหตุการณ์ 14 ตุลาฯ คุณพ่อเป็นชาวนาธรรมดา ในอำเภอดอยสะเก็ด...
spot_img

Popular

ชาวเชียงใหม่ชวนกันอาสา เก็บขยะกระทงแม่น้ำปิงหลังเทศกาลยี่เป็ง

29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 16:00 น. กลุ่มอาสาภาคประชาชนรวมตัวกันช่วยเก็บเศษกระทงและขยะในแม่น้ำปิง บริเวณท่าเรือวัดฟ้าฮ่าม หลังเทศกาลยี่เป็ง...

ความหมายของพระพุทธชินราชในประวัติศาสตร์ไทย  

ความสวยงามของพระพุทธรูปที่ขึ้นชื่อว่างดงามที่สุดในประเทศไทยคือพระพุทธชินราช ตั้งอยู่ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด พิษณุโลก การนำเสนอภาพของพระพุทธชินราชในช่วงเวลาต่างๆ มิได้นำเสนอภาพของความงดงามเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ภาพการอธิบายเกี่ยวกับพระพุทธรูปองค์นี้มีความหมายที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา ความหมายของพระพุทธชินราชช่วงแรกปรากฏในพงศาวดารเหนือ...

“คนกับป่า” เมื่อคนเมืองถือกล้องเดินเข้าบ้านห้วยหินลาดใน จ.เชียงราย ลั่นชัตเตอร์ความสัมพันธ์ระหว่างป่าเขา-คนปกาเกอะญอ

เรื่อง : รัชชา สถิตทรงธรรม “ทำไมเราต้องสื่อสาร แล้วถ้าเราไม่สื่อสาร คนข้างนอกจะรู้เรื่องราวและการมีอยู่ของเราได้อย่างไร” หนึ่งในประโยคจับใจที่ ประสิทธิ์ ศิริ ชาวปกาเกอะญอ...

ตามรอยวิจัยไทบ้านฮิมชายน้ำของ ปลุกพลังสื่อตรวจสอบสังคม

25 พฤศจิกายน 2566 ณ ศูนย์วิจัยนวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดกิจกรรม ตามรอยงานวิจัยไทบ้านเรียนรู้วิถีชุมชนชายแดนฮิมน้ำของ...

มนุษย์ ความเชื่อ ถิ่นที่อยู่ เมื่อสาละวินไม่ใช่แค่แม่น้ำแต่คือจิตวิญญาณของเรา

เรื่อง: ณัฎฐณิชา พลศรี “สาละวินมันเป็นมากกว่าแม่น้ำเฉยๆ เป็นแม่น้ำที่เปรียบเสมือนแม่ของเราที่น้ำนมหยดแรกที่เราดื่มมาจากแม่ของเรา แต่น้ำหยดที่สองที่เราดื่มของน้ำสาละวิน” - ลาหมึทอ ดั่งแดนวิมาน เยาวชนบ้านท่าตาฝั่งริมแม่น้ำสาละวิน - ไม่ว่าจะเป็นอดีตหรือปัจจุบันมนุษย์ก็ยังคงมีความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือสิ่งที่มองไม่เห็นว่ามีอยู่จริง...