Tags : ประวัติศาสตร์

ก๊อนเก๊าเล่าล้านนา: ว่าด้วยสถานการณ์ “น้ำท่วมแม่สาย” จุดเปลี่ยนทางประวัติศาสตร์ของร่องน้ำและลำน้ำแม่สายในฐานะเส้นเขตแดน

เรื่อง: นวลคำ ขะยอมแดง สุภาพชนคนเมือง ปริมาณสะสมของน้ำฝนที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศที่มีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เดือนกรกฎาคมผสานกับอิทธิพลของพายุยางิในทะเลจีนใต้ที่แผ่เข้ามากคลุมในพื้นที่ดังกล่าวส่งผลให้พื้นที่ตามภูเขามีการสะสมปริมาณน้ำเรื่อยมา จนกระทั่งช่วงหลังต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมาล่าสุดนี้ได้มีฝนตกหนักอย่างต่อเนื่องเหนือพื้นที่ต้นน้ำของแม่น้ำแม่สายในเขตประเทศเมียนมาซึ่งพื้นที่ป่าต้นน้ำของแม่น้ำสายดังกล่าวนั้นเกิดจากบริเวณสันเขาอีกด้านหนึ่งของดอยนางนอนและดอยตุงซึ่งอยู่ในเขตประเทศเพื่อนบ้าน รวมทั้งภูเขาอีกฟากฝั่งหนึ่งของแม่น้ำในเขตประเทศเพื่อนบ้านเช่นกันซึ่งพื้นที่ป่าในบริเวณดังกล่าวนี้ได้ถูกแผ้วถางทำลายกลายเป็นทั้งพื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่สำหรับอยู่อาศัยที่ก่อตัวขึ้นมาเป็นชุมชนขนาดย่อมเมื่อไม่นานมานี้ ตลอดจนกลายเป็นพื้นที่ปศุสัตว์และเกษตรอุตสาหกรรมสำคัญของนายทุนอย่างไร่ข้าวโพด สิ่งที่กล่าวมาข้างต้นนี้ชี้ให้เห็นการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์จากที่ดิน...

ประติมากรรมยักษ์วัดอุโมงค์ กับคำถาม “อำนาจ” ใน “หลักวิชาการอนุรักษ์” ที่ยังฉงนคำตอบ ?

“ยืนยันว่าการบูรณะเป็นไปตามหลักวิชาการ” คำตอบเช่นนี้ได้ยินเสมอจากหน่วยงานราชการที่มีหน้าที่ดูแลแหล่งมรดกวัฒนธรรม ปรากฏการณ์สำคัญในวงการศิลปวัฒนธรรมเกิดขึ้นอีกครั้งหนึ่งในดินแดนเชียงใหม่ เมื่อเกิดกรณีการบูรณะประติมากรรมยักษ์จำนวน 2 ตนภายในวัดอุโมงค์ ตำบลสุเทพ อำเภอเมืองเชียงใหม่ ซึ่งเป็นแหล่งมรดกทางวัฒนธรรมและสถานที่ท่องเที่ยวที่ทุกคนต่างรู้จักกันอย่างดี เหตุการณ์ดังกล่าวมีจุดเริ่มต้นจากเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน...

‘เพ็ญสุภา’ ตั้งข้อสงสัยพบ ‘พระพุทธรูปริมโขง’ เสนอจับมือค้นคว้าอย่างจริงจัง

จากกรณีที่มีการค้นพบพระพุทธรูปขนาดใหญ่และวัตถุโบราณหลายชิ้น บริเวณเกาะกลางดอนผึ้งคำ เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว ฝั่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ตรงข้าม อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย เมื่อวันที่...

รถไฟรางคู่ผ่าน ‘แพร่’ เจอวัดร้างและสังคมก่อนมีเครื่องเสียง ‘ฆ้อง’ มีไว้ทำอะไร

ปลายเดือนเมษายนที่ผ่านมาบริเวณหมู่ที่ 3 ตำบลทุ่งกวาว อำเภอเมือง จังหวัดแพร่ ขณะที่คนงานกำลังขับรถแทรกเตอร์ไถปรับผืนดิน ก่อนลงเสาตอม่อขนาดใหญ่เพื่อรองรับเส้นทางรถไฟรางคู่จากสถานีเด่นชัย จังหวัดแพร่ไปยังจังหวัดเชียงราย พบอิฐจำนวนมากที่เคยอยู่ใต้ดิน...

อยู่-ระหว่าง-เหนือล่าง : เหนือล่างกับประวัติศาสตร์การเคลื่อนย้าย

ภูมิภาคเหนือตอนล่างคือพื้นที่ระหว่างภาคกลาง (กล่าวโดยนัยคือกรุงเทพฯ) กับภาคเหนือ ภายใต้ประพัฒนาการของรัฐไทยที่เริ่มต้นในช่วงรัชการที่ 5 มาจนถึงตอนนี้ ภูมิภาคเหนือตอนล่างถูกละเลยไปจากการศึกษาทางประวัติศาสตร์ไปจนหาความต่อเนื่องได้ยาก เหตุจากภูมิภาคนี้มีลักษณะความเป็นกึ่งกลางระหว่างความไทยกับความเป็นอื่น หากพิจารณาความเป็นกึ่งกลางของภูมิภาคเหนือล่างเราอาจเห็นร่องรอยของประวัติศาสตร์...

จันเสนก่อนตาคลี เมืองโบราณที่ไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก?

บริเวณภาคเหนือตอนล่างหรือกลางตอนบนในปัจจุบันมีแหล่งโบราณคดีที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลกถึง 4) แห่ง ได้แก่ 1) อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย 2) อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัย 3)...

แม่แจ่มที่เพิ่งสร้าง: การเผยตัวของชุมชนแม่แจ่มในฐานะชุมชนทางวัฒนธรรม

บทนำ มรดกทางการเมืองหลังสงครามเย็น นอกจากแม่แจ่มจะเป็นพื้นที่สีชมพูในการจัดการของรัฐไทยต่อขบวนการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยแล้ว ยังเป็นพื้นที่ที่รัฐไทยเข้ามามีอำนาจในการจัดการทรัพยากรในแม่แจ่มด้วย ไม่ว่าจะเป็นโครงการพัฒนาลุ่มน้ำแม่แจ่ม การส่งเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจโดยโครงการของรัฐ การขยายระบบสาธารณูปโภคและเปิดโอกาสให้ระบอบทุนเข้ามามีบทบาทในการจัดการทรัพยากรด้วย ในห้วงเวลาใกล้เคียงกันคือราวปลายทศวรรษ 2530 ภายใต้บริบทวาระครบรอบเชียงใหม่...

ความหมายของพระพุทธชินราชในประวัติศาสตร์ไทย  

ความสวยงามของพระพุทธรูปที่ขึ้นชื่อว่างดงามที่สุดในประเทศไทยคือพระพุทธชินราช ตั้งอยู่ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด พิษณุโลก การนำเสนอภาพของพระพุทธชินราชในช่วงเวลาต่างๆ มิได้นำเสนอภาพของความงดงามเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ภาพการอธิบายเกี่ยวกับพระพุทธรูปองค์นี้มีความหมายที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา ความหมายของพระพุทธชินราชช่วงแรกปรากฏในพงศาวดารเหนือ...

น้ำมนต์ ศรัทธา และ การพัฒนาวัดศรีมฤคทายวัน ต.ธรรมเสน อ.โพธาราม จ.ราชบุรี กรณีศึกษา พระครูสังฆรักษ์ อุทัย ปภงฺกโร

Lanner เปิดพื้นที่ให้ทุกคนที่อยากสื่อสาร โดยความคิดเห็นไม่จำเป็นต้องเหมือนกองบรรณาธิการ สามารถส่งมาได้ที่ lanner.editor@gmail.com เรื่อง: แก้วกัลยา ชมพระแก้ว ,ปวีณา บุหร่า บทนำ บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาน้ำมนต์ และความศรัทธาต่อน้ำมนต์ของวัดศรีมฤคทายวัน...

วิถีชีวิตชุมชนลาวเวียงจันทน์ ผ่านภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดบ้านฆ้อง ตำบลบ้านฆ้อง  อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี

Lanner เปิดพื้นที่ให้ทุกคนที่อยากสื่อสาร โดยความคิดเห็นไม่จำเป็นต้องเหมือนกองบรรณาธิการ สามารถส่งมาได้ที่ lanner.editor@gmail.com เรื่อง: ทวิตรา เพ็งวัน,ปวีณา  บุหร่า บทนำ บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาภาพจิตรกรรมฝาผนังศาลาการเปรียญวัดบ้านฆ้อง ตำบลบ้านฆ้อง ...

ประวัติศาสตร์ – สามัญชน – พิพิธภัณฑ์

19 มกราคม 2566 เมื่อวันที่ 11 มกราคม 2566 ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้จัดเสวนาในหัวข้อ...