คำสำคัญ: เชียงราย

‘ห้วยหินลาดใน’ คนอยู่ป่า ปัญหาโลกรวน ดินโคลนถล่ม และวาทกรรมที่มีอคติต่อกลุ่มชาติพันธุ์

เรื่อง: องอาจ เดชา “บ้านห้วยหินลาดในที่ฉันรักและรู้จักมายี่สิบกว่าปี  เป็นชุมชนปกาเกอะญอ ที่มีประชากร 114 คน ผู้ดูแลป่าชุมชน 5,889...

สืบสกุล กิจนุกร เปลี่ยนวิธีคิด ก้าวข้ามกับดักเขตแดนรัฐชาติและกระจายอำนาจ ปัญหา #น้ำท่วมเชียงราย

เรื่อง: ปุณญาพร รักเจริญ ถึงแม้สถานการณ์น้ำท่วมใหญ่ในจังหวัดเชียงรายที่ผ่านมาขณะนี้ได้คลี่คลายลงอย่างต่อเนื่อง ประชาชนและอาสาสมัครเร่งทำความสะอาดฟื้นฟูเมืองหลังน้ำลด ถือได้ว่าเป็นวิกฤตการณ์ทางธรรมชาติที่รุนแรงที่สุดในรอบ 40 ปี และได้สร้างความเสียหายอย่างหนักให้แก่ประชาชนทั้งร่างกายและทรัพย์สินโดยเมื่อวันที่ 18...

เชียงใหม่ใกล้ไหนไปนั่น ถึงเวลาประชาชนช่วยประชาชน #น้ำท่วมเชียงราย

จากสถานการณ์น้ำท่วมในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดเชียงใหม่ในอำเภอแม่อาย อำเภอฝาง Lanner ได้รวมสถานที่เปิดรับบริจาคน้ำท่วมในจังหวัดเชียงใหม่ ใครสะดวกไปตรงไหนสามารถไปตรงนั้นได้เลย อำเภอเมืองเชียงใหม่ สนิมทุนและพี่น้องผองเพื่อน ระดมของบริจาคไปช่วยพี่น้องเชียงรายวันที่ 15 กันยานนี้ ล้อหมุนจากร้านสนิมทุน เวลา...

‘นายกสมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิต’ เผยที่ผ่านมาประชาชนดูกันเอง แนะรอหลังรัฐแถลงนโยบายก็ไม่ช่วยแก้ปัญหาหน้างานดีขึ้ัน

12 กันยายน 2567 Lanner ต่อสายพูดคุยกับ ‘สมเกียรติ เขื่อนเชียงสา’ นายกสมาคมแม่น้ำเพื่อชีวิต ที่เผยถึงสถานการณ์น้ำท่วมจังหวัดเชียงรายว่าบริเวณพื้นที่ที่อยู่ใกล้เคียงกับแม่น้ำกกปัจจุบันน้ำได้ทะลักเข้าไปในบ้านที่อยู่ริมแม่น้ำกกกว่า...

‘สภาพเหมือนติดเกาะ’ ส.อบต.เกาะช้าง เผยไม่สามารถเดินทางเข้า-ออกพื้นที่ได้ แนะต้องการกระสอบทราย 

Lanner สัมภาษณ์ ‘ชูโชค ขวาเมืองพาน’ ส.อบต. หมู่ 7 ตำบลเกาะช้าง ถึงสถานการณ์...

Rocket Media Lab ชวนสำรวจระบบเตือนภัยล่วงหน้า (Early Warning) พบ อำเภอแม่สาย มีเพียง 7 หมู่บ้านใน 3 ตำบล

จากสถานการณ์น้ำท่วมฉับพลันที่อ.แม่สาย จ.เชียงรายในขณะนี้ (11 ก.ย. 2567) Rocket Media Lab ชวนสำรวจระบบเตือนภัยพิบัติในประเทศไทย...

Lanner ตั้งคำถามถึงประสิทธิภาพการแจ้งเตือนศูนย์เตือนภัยพิบัติฯ ‘ผิดที่ผิดทาง’ หลังเหตุ #น้ำท่วมแม่สาย

จากเหตุการณ์น้ำท่วมใหญ่ที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ตั้งแต่วันที่ 10 กันยายน 2567 ที่ผ่านมา ซึ่งถือเป็นวิกฤตหนักที่สุดในรอบหลายทศวรรษ ได้สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาของระบบเตือนภัยพิบัติในประเทศไทยอย่างชัดเจน...

ไม่ใช่แค่ความพร้อม แต่ต้องกระจายอำนาจ สำรวจความเห็น ‘เชียงรายเมืองศิลปะ’ หลังจบเบียนนาเล่

“เชียงรายเมืองแห่งศิลปะ” หลายคนคงคุ้นหูมาบ้างหากได้แวะเวียนมาที่นี่ ทั้งประวัติศาสตร์ที่มีมาอย่างยาวนานในการเป็นที่ตั้งของหิรัญนครเงินยางเชียงแสนนครหลวงก่อนการเกิดขึ้นของอาณาจักรล้านนา และภูมิศาสตร์ที่ผู้คนเคลื่อนย้ายข้ามแม่น้ำไปมาหาสู่กันตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันบริเวณรอยต่อประเทศเมียนมา และ สปป.ลาว ในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคำ ทำให้พื้นที่นี่มีความไหลเวียนของวัฒนธรรมอยู่เสมอ รวมไปถึงเหล่าศิลปินที่มีอิทธิพลในวงการศิลปะไทย ปัจจัยเหล่านี้เรียกได้ว่าเป็นสิ่งที่ประกอบสร้างให้จังหวัดเชียงรายเป็น...

60 กว่าปีที่รอคอย ขบวนความหวัง รถไฟสายใหม่ เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ คุ้มไหมกับที่หวัง?

“เชียงรายจะมีรถไฟแล้ว” ประโยคขายฝันที่ฉันได้ยินตั้งแต่เด็กจนตอนนี้ใกล้จะเรียนจบมหาวิทยาลัยแล้วก็ยังไม่เคยเห็นรถไฟที่ว่านั้นสักที ด้วยภูมิประเทศอันประกอบไปด้วยเทือกเขาสลับซับซ้อน ที่ยากลำบากต่อการก่อสร้างและความคุ้มค่าต่อการลงทุน ทำให้เส้นทางรถไฟสายเหนือของไทยสิ้นสุดอยู่เพียงที่ชานชาลาเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน  จากทางรถไฟที่เฝ้ารอมาหลายสิบปี ผู้เฒ่าหลายคนล้มหายตายจากไปทั้งที่ยังไม่ได้เห็นแม้ร่องรอย คำบอกเล่าว่าทางรถไฟจะผ่านบ้านเราแล้ว ประโยคดังกล่าวดูเหมือนจะเป็นจริง หลังสถานที่ต่าง ๆ...

ร้อยเรียงเรื่องเชียงแสน:  บทสนทนาต่อ “ปฏิบัติการด้านศิลปะ” และ “ประวัติศาสตร์” ยวนย้ายถิ่น

มองศิลปะจัดวางและอ่านอย่างเข้าใจ “ไทยวนปิ๊กบ้าน: การสืบทอดและส่งต่อ” มหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ Thailand Biennale Chiang Rai 2023 เป็นกิจกรรมเพิ่มพูนความร่วมมือจากเหล่าบรรดาเครือข่ายศิลปินและนักปฏิบัติการด้านศิลปะตั้งแต่ระดับท้องถิ่นเรื่อยไปจนถึงระดับนานาชาติที่มุ่งสร้างการตระหนักรู้ต่อประเด็นศิลปะวัฒนธรรมในสังคมร่วมสมัยที่นำไปสู่การขยายความรับรู้ให้กระจายไปสู่สาธารณชน...

ภาพเล่าเรื่อง: ท่าขี้เหล็ก เมืองที่เปลี่ยนแปลงไป

เมืองท่าขี้เหล็ก เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในบริเวณชายแดนของรัฐฉาน ประเทศเมียนมา อยู่กับติดกับบริเวณพื้นที่ชายแดนอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย การข้ามแดนจะข้ามที่ด่านอำเภอแม่สาย โดยมีสะพานที่ข้าม “แม่น้ำสาย” ที่กั้นระหว่างสองประเทศ ในจุดแบ่งเขตพรมแดน คือ ประตูกลางสะพาน สิ่งแรกที่สามารถเห็นถึงความหลากหลายของกลุ่มคนในพื้นที่ชายแดนแห่งนี้...

‘ท่าขี้เหล็ก’ เมืองที่เปลี่ยนแปลงไป

เมืองท่าขี้เหล็กและคนกลุ่มต่าง ๆ ก่อนการมาของจีนใหม่ เมืองชายแดนท่าขี้เหล็ก มีอาณาเขตติดต่อกับอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จุดกำเนิดเกิดขึ้นจากการอพยพโยกย้ายเข้ามาตั้งถิ่นฐานของผู้คนหลากหลายกลุ่ม นับตั้งแต่ขยายอำนาจของบรรดาเจ้านครรัฐในยุคก่อนอาณานิคม จนถึงยุคของการเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2...

“พญามังราย” ถูกลดยศเป็น “พ่อขุนเม็งราย” เพราะระบอบอาณานิคมกรุงเทพ

เรื่อง: พริษฐ์ ชิวารักษ์ อันที่จริงแล้ว เรื่องนี้เป็นเรื่องที่พูดกันในวงวิชาการมาประมาณ 150 รอบแล้ว ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นรณรงค์ทางสังคมก็หลายครั้ง แต่ในเมื่อยังไม่เป็นที่เห็นต้องกันทั้งหมดในสังคมวงกว้าง ก็คงต้องหยิบยกมาพูดเป็นรอบที่...

อาทิตย์อัสดงตรงฝั่งแม่สาย อรุณรุ่งตะวันฉายในท่าขี้เหล็ก : เท็กซัสลุ่มน้ำแม่สาย มุมไบขนาดย่อส่วน 

เรื่อง: ธนพงษ์ หมื่นแสน “….ฟากฟ้ายามเย็นเห็นแสงรำไรอาทิตย์จะลับโลกไปพระจันทร์จะโผล่ขึ้นมาหมู่มวลวิหคเหินลมอยู่กลางเวหาจะหลับคืนสู่ชายคาชายป่าคือแหล่งพักพิง.…” ผู้เขียนมุ่งใช้ข้อความสี่บรรทัดนี้ ทำหน้าที่แทน “ตัวอักษรที่มีเสียง” ซึ่งใครหลายคนคงพอที่จะฮึมฮำร่ำร้องได้ในใจหรือสามารถเปล่งคำและความออกมาเป็นเสียงที่แสนไพเราะเสนาะโสต แม้เนื้อความของบทเพลง “แม่สาย” ได้เคยขยายและยังคงฉายภาพถึงเรื่องราวชีวิตของเด็กหญิงสาวที่ถูกพรากจากหมู่บ้านฐานถิ่นเพื่อเดินทางไกลไปเป็นเสมือนดั่งเช่นนกน้อยที่รอคอยวัน...