Tag: กระจายอำนาจ

นศ.มช.ได้รับหมายเรียก ข้อหา ม.116-พ.ร.บ.ชุมนุม เหตุงานแห่ไม้ค้ำกระจายอำนาจ

11 ตุลาคม 2566 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน รายงานว่า มิว วัชรภัทร ธรรมจักร นักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่...

คุยกับภาคภูมิ แสงกนกกุล: ตระเวนเส้นทางกระจายอำนาจการคลังอันขรุขระ ที่ต้องเลี้ยวหลบระบบอุปถัมภ์แบบไทยๆ

เรื่องและภาพ ณัฐชลี สิงสาวแห มีอะไรรออยู่ในเส้นทางการกระจายอำนาจ เราขอชวนร่วมทริปสำรวจเส้นทางสู่การกระจายอำนาจด้านการคลังในประเทศไทย และก่อนที่จะกล่าวถึงเนื้อหนังของการกระจายอำนาจ “ภาคภูมิ แสงกนกกุล” จากคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่...

เราคือคณะก่อการล้านนาใหม่ นี่คือการเรียกคืนสิทธิจัดการตนเองจากรัฐผู้ฉกฉวย 

เรื่องและภาพ: ณัฐชลี สิงสาวแห “คณะก่อการล้านนาใหม่” ก่อกำเนิดขึ้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ที่ซึ่งถูกเรียกว่าภาคเหนือ ผืนดินที่อยู่ทาง “ทิศเหนือของกรุงเทพฯ” เมืองหลวงแห่งประเทศไทย พื้นที่แห่งนี้เต็มไปด้วยภูเขา...

“สภาพลเมือง” จากผู้ชมข้างสนามสู่ผู้เล่นตัวจริงในสนามกระจายอำนาจ

เรื่อง: กิตติโบ้ พันธภาค หากประชาธิปไตยเปรียบเสมือน “เส้นขอบฟ้า” การพยายามค้นหา “เครื่องมือ” เพื่อมุ่งไปหามันจึงเป็นที่สิ่งสำคัญ ทว่าบางเครื่องมืออาจทำให้เราจินตนาการไปว่ามันพาได้เราไปถึงจุดหมายแล้ว แต่ไม่เลย...

จังหวัดจัดการตนเองไม่เท่ากับแบ่งแยกดินแดน

เรียบเรียง: สุรยุทธ รุ่งเรือง เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2566 ที่ผ่านมา คณะก่อการล้านนาใหม่ จัดกิจกรรมเสวนาวาระรัฐธรรมนูญ-การกระจายอำนาจ...
spot_img

Popular

ชาวเชียงใหม่ชวนกันอาสา เก็บขยะกระทงแม่น้ำปิงหลังเทศกาลยี่เป็ง

29 พฤศจิกายน 2566 เวลา 16:00 น. กลุ่มอาสาภาคประชาชนรวมตัวกันช่วยเก็บเศษกระทงและขยะในแม่น้ำปิง บริเวณท่าเรือวัดฟ้าฮ่าม หลังเทศกาลยี่เป็ง...

ความหมายของพระพุทธชินราชในประวัติศาสตร์ไทย  

ความสวยงามของพระพุทธรูปที่ขึ้นชื่อว่างดงามที่สุดในประเทศไทยคือพระพุทธชินราช ตั้งอยู่ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร จังหวัด พิษณุโลก การนำเสนอภาพของพระพุทธชินราชในช่วงเวลาต่างๆ มิได้นำเสนอภาพของความงดงามเพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ภาพการอธิบายเกี่ยวกับพระพุทธรูปองค์นี้มีความหมายที่เปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา ความหมายของพระพุทธชินราชช่วงแรกปรากฏในพงศาวดารเหนือ...

“คนกับป่า” เมื่อคนเมืองถือกล้องเดินเข้าบ้านห้วยหินลาดใน จ.เชียงราย ลั่นชัตเตอร์ความสัมพันธ์ระหว่างป่าเขา-คนปกาเกอะญอ

เรื่อง : รัชชา สถิตทรงธรรม “ทำไมเราต้องสื่อสาร แล้วถ้าเราไม่สื่อสาร คนข้างนอกจะรู้เรื่องราวและการมีอยู่ของเราได้อย่างไร” หนึ่งในประโยคจับใจที่ ประสิทธิ์ ศิริ ชาวปกาเกอะญอ...

ตามรอยวิจัยไทบ้านฮิมชายน้ำของ ปลุกพลังสื่อตรวจสอบสังคม

25 พฤศจิกายน 2566 ณ ศูนย์วิจัยนวัตกรรมสังคมเชิงพื้นที่ สำนักวิชานวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จัดกิจกรรม ตามรอยงานวิจัยไทบ้านเรียนรู้วิถีชุมชนชายแดนฮิมน้ำของ...

มนุษย์ ความเชื่อ ถิ่นที่อยู่ เมื่อสาละวินไม่ใช่แค่แม่น้ำแต่คือจิตวิญญาณของเรา

เรื่อง: ณัฎฐณิชา พลศรี “สาละวินมันเป็นมากกว่าแม่น้ำเฉยๆ เป็นแม่น้ำที่เปรียบเสมือนแม่ของเราที่น้ำนมหยดแรกที่เราดื่มมาจากแม่ของเรา แต่น้ำหยดที่สองที่เราดื่มของน้ำสาละวิน” - ลาหมึทอ ดั่งแดนวิมาน เยาวชนบ้านท่าตาฝั่งริมแม่น้ำสาละวิน - ไม่ว่าจะเป็นอดีตหรือปัจจุบันมนุษย์ก็ยังคงมีความเชื่อเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์หรือสิ่งที่มองไม่เห็นว่ามีอยู่จริง...